Page 155 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 155

3-75





                                1.9) การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการและการท่องเที่ยวที่มี

                  ศักยภาพให้เติบโต และสนับสนุนภาคการผลิต เน้นการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความ
                  สมดุลและยั่งยืนในการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่ค้านึงถึงขีดความสามารถในการรองรับของระบบ
                  นิเวศ และศักยภาพของพื นที่ รวมทั งการสร้างมูลค่าเพิ่มในอุตสาหกรรมกีฬาให้ครอบคลุมทุกมิติและครบ

                  วงจร ทั งการผลิตและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
                                1.10) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างภาคการผลิต เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ขยาย
                  ฐานเศรษฐกิจให้กว้างขึ น และต่อยอดห่วงโซ่การผลิตให้เข้มแข็งขึ น โดยการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิต
                  และน้าผลการวิจัยและการพัฒนาที่เกี่ยวข้องมาใช้ประโยชน์ในการสร้างผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ที่
                  หลากหลาย และสอดคล้องกับความต้องการของตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาความเชื่อมโยงด้าน

                  คมนาคมขนส่ง โลจิสติกส์ และโทรคมนาคม ในกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคภายใต้แผนงานของกรอบ
                  ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น ้าโขง กรอบความร่วมมือลุ่มแม่น ้าอิระวดี เจ้าพระยา แม่โขง
                  กรอบความร่วมมือเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย กรอบความร่วมมือความริเริ่มแห่ง

                  อ่าวเบงกอล ส้าหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ กรอบความร่วมมือเพื่อ
                  พัฒนาชายแดนไทย-มาเลเซีย และภูมิภาคอาเซียนเพื่ออ้านวยความสะดวกและลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์
                                1.11) การพัฒนาวิสาหกิจขนาดย่อย ขนาดเล็ก และขนาดกลาง วิสาหกิจชุมชน และ
                  วิสาหกิจเพื่อสังคม เพื่อขยายฐานการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้มีความครอบคลุมมากขึ น เป็นการสร้าง

                  โอกาสทางเศรษฐกิจส้าหรับกลุ่มต่างๆ ในสังคม โดยด้าเนินการควบคู่ไปกับการพัฒนาและส่งเสริมสังคม
                  ผู้ประกอบการเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการที่ผลิตได้และขายเป็น
                                1.12) การสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพ
                  สิ่งแวดล้อม เน้นการรักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

                  ทรัพยากรน ้า สนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชน เร่งแก้ไข
                  ปัญหาวิกฤติสิ่งแวดล้อมเพื่อลดมลพิษที่เกิดจากการผลิตและการบริโภค พัฒนาระบบบริหารจัดการที่
                  โปร่งใสเป็นธรรม ส่งเสริม การผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เร่งเตรียมความพร้อมในการ
                  ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ

                  ภูมิอากาศ รวมทั งบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติ
                                1.13) การฟื้นฟูพื นฐานด้านความมั่นคงที่เป็นปัจจัยส้าคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
                  และสังคมของประเทศ ให้ความส้าคัญกับการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่างทาง

                  ความคิด และอุดมการณ์บนพื นฐานของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น
                  ประมุข และการเตรียมการรับมือกับอาชญากรรมข้ามชาติ ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยส้าคัญต่อการ
                  พัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศในระยะ 20 ปีข้างหน้า
                                1.14) การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและการสร้าง
                  ธรรมาภิบาลในสังคมไทย ให้ความส้าคัญกับการส่งเสริมและพัฒนาธรรมาภิบาลในภาครัฐอย่างเป็น

                  รูปธรรมทั งด้านระบบการบริหารงานและบุคลากร มีการบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส มีประสิทธิภาพ
                  สามารถตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอ้านาจ และแบ่งภารกิจ
                  รับผิดชอบที่เหมาะสมระหว่างส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160