Page 154 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 154

3-74




                  ความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่จ้าเป็นต่อการด้ารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ของคนในแต่ละช่วง

                  วัยตาม ความเหมาะสม การเตรียมความพร้อมของก้าลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะ
                  เปลี่ยนแปลงโลกในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ การสร้างเสริมให้คนมี
                  สุขภาพดีที่เน้นการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพและการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสภาพแวดล้อมที่ส่งผล

                  ต่อสุขภาพ
                                1.4) การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล ้าให้ความส้าคัญกับการจัดบริการของ
                  รัฐที่มีคุณภาพทั งด้านการศึกษา สาธารณสุข ให้กับผู้ที่ด้อยโอกาสและผู้ที่อาศัยในพื นที่ห่างไกล การ
                  จัดสรรที่ดินท้ากิน สนับสนุนในเรื่องการสร้างอาชีพ รายได้ และสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพ ผู้ด้อยโอกาส
                  สตรี และผู้สูงอายุ รวมทั งกระจายการจัดบริการภาครัฐให้มีความครอบคลุมและทั่วถึงทั งในเชิงปริมาณ

                  และคุณภาพ ตลอดจนสร้างชุมชนเข้มแข็งให้เป็นพลังร่วมทางสังคมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาและพร้อมรับ
                  ผลประโยชน์จากการพัฒนา โดยส่งเสริมการประกอบอาชีพของผู้ประกอบการระดับชุมชน การสนับสนุน
                  ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนจัดสวัสดิการและบริการในชุมชน และผลักดันกลไกการกระจาย

                  ที่ดินท้ากินและการบริหารจัดการที่ดินของชุมชน โดยมุ่งบรรลุเป้าหมายส้าคัญในการยกระดับรายได้
                  ประชากรกลุ่ม ร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่้าสุด
                                1.5) การปรับโครงสร้างการผลิตและการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจในแต่ละช่วงของห่วงโซ่
                  มูลค่า เน้นสร้างความเข้มแข็งให้กับปัจจัยพื นฐาน ทุนทางเศรษฐกิจให้สนับสนุนการเพิ่มศักยภาพของฐาน

                  การผลิตและฐานรายได้เดิม และยกระดับห่วงโซ่มูลค่าด้วยการใช้เทคโนโลยีวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้าง
                  นวัตกรรมการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและสอดคล้องกับความต้องการของตลาด รวมทั งสร้าง สังคม
                  ผู้ประกอบการให้มีทักษะการท้าธุรกิจที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนาพื นที่
                  ชายแดนที่มีศักยภาพและพื นที่เศรษฐกิจใหม่ เพื่อรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและขับเคลื่อน

                  เศรษฐกิจเข้า สู่การเป็นประเทศรายได้สูงในอนาคต
                                1.6) การปรับระบบการผลิตการเกษตรให้สอดคล้องกับพันธกรณีในด้านการ
                  เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและศักยภาพของพื นที่ เน้นการสร้างองค์ความรู้ทางวิชาการเกษตร
                  วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม แบบมีส่วนร่วมที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากรชีวภาพ (Bio Based)

                  ในการ สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าเกษตรมีความปลอดภัย ไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนและ
                  สิ่งแวดล้อมของประเทศ การพัฒนาระบบเกษตรกรรมที่ยั่งยืนและการขยายโอกาสในการเข้าถึงพื นที่ท้า
                  กินของเกษตรกร รวมทั งส่งเสริมการรวมกลุ่มทางการเกษตรจากกิจการเจ้าของคนเดียว เป็นการ

                  ประกอบการในลักษณะสหกรณ์ ห้างหุ้นส่วน และบริษัท เพื่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาด
                                1.7) การเพิ่มศักยภาพฐานการผลิตและบริการเดิมที่มีศักยภาพในปัจจุบันให้ต่อยอดไปสู่
                  ฐานการผลิตและบริการที่ใช้เทคโนโลยีที่เข้มข้นและมีนวัตกรรมมากขึ น ควบคู่กับการวางรากฐานเพื่อ
                  สร้างและพัฒนาภาคการผลิตและบริการส้าหรับอนาคต ทั งในด้านการเตรียมศักยภาพคน และโครงสร้าง
                  พื นฐาน ตลอดจนสร้างกลไกและเครือข่ายความร่วมมือของธุรกิจในลักษณะคลัสเตอร์ (Cluster)

                                1.8) การส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจกระแสใหม่ อาทิ เศรษฐกิจ ดิจิทัล
                  เศรษฐกิจฐานชีวภาพ เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม และการพัฒนาวิสาหกิจตั งใหม่ (Start Up)
                  และวิสาหกิจเพื่อสังคม รวมถึงการสร้างสังคมผู้ประกอบการเพื่อต่อยอดฐานการผลิตและบริการ








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                                 กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159