Page 271 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ
P. 271

3-177





                     -      ขาดการรวมกลุ่มที่เข้มแข็งซึ่งปัจจุบันเกษตรกรแต่ละราย แยกกันขายอย่างอิสระ และมี

                  แหล่งรับซื้อผลผลิตเจ้าประจ ากันอยู่แล้ว ไม่ได้รับความร่วมมือ ความสนใจ ขาดความสามัคคี และขาดแกนน า

                  ในการรวมกลุ่ม คุณภาพของผลผลิตแต่ละสวนแตกต่างกัน ผู้ปลูกส้มโอมีน้อยราย และพบว่าเคย
                  รวมกลุ่มกันแล้วแต่ไม่ประสบผลส าเร็จ

                     -      เกษตรกรขาดข้อมูลข่าวสารด้านการตลาด เพื่อใช้ประกอบพิจารณาตัดสินใจในการขาย

                  ราคาที่ตกลงซื้อขายถูกก าหนดราคาของปีที่ผ่านมา แม้ว่าเกษตรกรจะพยายามต่อรองราคาให้สูงขึ้น

                  แต่ระดับราคาก็ยังคงใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
                           - พื้นที่การปลูกส้มโอบางจังหวัดเสี่ยงต่อการเกิดน ้าท่วมขังเป็นอย่างมาก เช่น อ าเภอปากพนัง

                  จังหวัดนครศรีธรรมราช

                           - ส้มโอเป็นพืชที่ไม่ทนแล้ง  หากปริมาณน ้าฝนน้อยกว่า 1,200 มิลลิเมตร และปริมาณน ้าฝน

                  มากกว่า 3,000  มิลลิเมตร ก็จะท าให้การปลูกส้มโอไม่สามารถเจริญเติบโตได้
                            - ส้มโอไม่ชอบสภาพการระบายน ้าของดินที่เลวถึงเลวมาก หากมีการแช่ขังของน ้าเป็นระยะ

                  เวลานานยิ่งจะท าให้รากส้มโอขาดก๊าซอ๊อกซิเจนอย่างรุนแรง

                        โอกาส
                           - หน่วยงานภาครัฐควรส่งเสริมและให้ความรู้การใช้ปัจจัยการผลิตให้เหมาะสมกับส้มโอ

                  และส่งเสริมการใช้เกษตรปลอดสารพิษ ด้วยการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยอินทรียวัตถุและการควบคุม

                  ศัตรูพืชด้วยสารสกัดจากพืชสมุนไพรเพื่อเป็นการต้นทุนการผลิตและก่อให้เกิดความปลอดภัย
                  ต่อผู้ผลิต ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม

                           - นโยบายต่างๆ ของรัฐในการส่งเสริมการเกษตร เช่น นโยบายยกกระดาษ A4 ประกอบด้วย

                  โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจส าหรับสินค้าเกษตรที่ส าคัญ (Zoning  by  Agri-Map)
                  โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ โครงการเกษตรอินทรีย์ และโครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 882 ศูนย์ เป็นต้น

                           - ภาวะตลาดและแนวโน้มของความต้องการส้มโอในอนาคต มีความต้องการส้มโอเพิ่มขึ้น

                  แต่การลงทุนท าสวนส้มโอมีความเป็นไปได้ในการลงทุนสูง ดังนั้น ภาครัฐควรสนับสนุนและส่งเสริม
                  ให้มีการปลูกส้มโอเพื่อการค้าเพิ่มขึ้น เพื่อท าให้ผลิตผลส้มโอเพียงพอต่อความต้องการของตลาด อีกทั้ง

                  เกษตรกรผู้ปลูกส้มโอจะได้รับผลตอบแทนหรือก าไรจากการท าสวนส้มโอเพิ่มขึ้นและจะมีฐานะความ

                  เป็นอยู่ที่ดีขึ้น

                           - ส้มโอเป็นไม้ผลที่ต้องใช้ระยะเวลานานถึง 4 ปี จึงจะให้ผลผลิต ในเรื่องของการกู้ยืมเงิน
                  ของเกษตรกรเพื่อใช้ลงทุนท าสวนส้มโอควรเป็นเงินกู้ระยะยาว ซึ่งอาจมีระยะเวลาปลอดหนี้สิน

                  ส าหรับดอกเบี้ยหรือเงินต้น เพื่อจะได้ไม่เป็นภาระที่หนักเกินไปส าหรับเกษตรกรในการช าระหนี้คืน





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ                              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   266   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276