Page 266 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ
P. 266

3-172






                  3.3  นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับพืชเศรษฐกิจส้มโอ

                        3.3.1  นโยบายและมาตรการของรัฐ
                            การก าหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และโครงการต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาทางด้านการเกษตร

                  ของรัฐ โดยสามารถสรุปภาพรวมได้ดังนี้

                             1)  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
                                ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จัดท า

                  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) บนพื้นฐานของกรอบ

                  ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ซึ่งเป็นแผนหลักของการพัฒนาประเทศ และเป้าหมายการพัฒนา
                  ที่ยั่งยืน (Sustainable  Development  Goals:  SDGs)  รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่

                  ประเทศไทย 4.0 โดยได้ให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน ทั้งในระดับ

                  กลุ่มอาชีพ ระดับภาค และระดับประเทศในทุกขั้นตอนของแผนฯ อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เพื่อ
                  ร่วมกันก าหนดวิสัยทัศน์และ ทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมทั้งร่วมจัดท ารายละเอียดยุทธศาสตร์ของแผนฯ

                  เพื่อมุ่งสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ถือเป็นแนวทางและหลักเกณฑ์ในการด าเนินงานของหน่วยงาน

                  ภาครัฐปัจจุบันประเทศไทยใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
                  น้อมน าหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญาน าทางในการพัฒนาประเทศต่อเนื่องจาก

                  แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9-11 เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่าง

                  มั่นคง เกิดภูมิคุ้มกัน และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ส่งผลให้การพัฒนาประเทศสู่

                  ความสมดุลและยั่งยืน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการก าหนดยุทธศาสตร์ผลไม้ไทยให้การผลิตมีความพอดี และ
                  พอเพียงต่อความต้องการของตลาด เพื่อมิให้เกิดปัญหาผลผลิตตกต ่าตามมา

                                การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จึงเป็นจุดเปลี่ยนที่ส าคัญในการ

                  เชื่อมต่อกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ในลักษณะการแปลงยุทธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบัติ โดยในแต่ละ

                  ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้ก าหนดประเด็นการพัฒนา พร้อมทั้งแผนงาน/โครงการ
                  ส าคัญที่ต้องด าเนินการให้เห็นผลเป็นรูปธรรมในช่วง 5 ปีแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ

                  เพื่อเตรียมความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรับตัวรองรับ

                  ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม ขณะเดียวกัน ยังได้ก าหนดแนวคิดและกลไกการ
                  ขับเคลื่อนและติดตามประเมินผลที่ชัดเจน เพื่อก ากับให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีทิศทางและเกิด

                  ประสิทธิภาพ น าไปสู่การพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย

                                การปรับระบบการผลิตการเกษตรให้สอดคล้องกับพันธกรณีในด้านการ
                  เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและศักยภาพของพื้นที่เน้นการสร้างองค์ความรู้ทางวิชาการเกษตร

                  วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแบบมีส่วนร่วมที่เชื่อมโยงกับฐานทรัพยากรชีวภาพ (Bio Based)





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ                              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   261   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271