Page 272 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ
P. 272

3-178





                  ทั้งนี้ เพราะในช่วงปีแรกๆ ก่อนส้มโอจะให้ผลผลิต เกษตรกรผู้ท าสวนส้มโอต้องเสียค่าใช้จ่ายในการลงทุน

                  ดังนั้นควรให้มีการกู้ยืมเงินหรือให้สินเชื่อแก่เกษตรกรในลักษณะที่เป็นสินเชื่อระยะยาวหรือเงินกู้

                  ระยะยาว
                           - ส้มโอเป็นพืชที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร หากเกษตรกรสามารถผลิตส้มโอออกสู่ตลาด

                  ให้ตรงกับช่วงที่ตลาดมีความต้องการสูง เช่น ปีใหม่ ตรุษจีน ซึ่งราคาจะต่างจากช่วงฤดูกาลปกติมาก

                           - บางพื้นที่ที่เกษตรกรมีความเชี่ยวชาญในการปลูกส้มโอ สามารถน าสายพันธุ์ที่แตกต่างใน

                  พื้นที่อื่นมาปลูกในพื้นที่ที่มีความเฉพาะออกไป สร้างโอกาสใหม่ๆ ในการเพิ่มราคาผลผลิตได้
                           - ส้มโอถือว่าเป็นพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เปลือก ก็สามารถน ามาแปรรูปเป็นยารักษาโรค

                  และเป็นผลไม้ที่เก็บไว้บริโภคให้นานขึ้นได้  ฉะนั้น หากมีการคิดค้นการแปรรูปใหม่ๆ ก็จะสร้าง

                  มูลค่าและส่งออกไปยังต่างประเทศอื่นๆ ได้

                           - ส้มโอเป็นพืชที่มีถิ่นก าเนิดในเขตร้อน ตั้งแต่ประเทศไทย ประเทศอินเดีย จีน และ
                  เวียดนาม ซึ่งจะท าให้เป็นโอกาสดีของประเทศไทยที่สามารถขยายอัตราก าลังผลิตได้


                        ข้อจ ากัด

                           - พื้นที่ปลูกส้มโอในพื้นที่ราบลุ่ม มักได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ เช่น น ้าท่วม ในฤดูฝน

                  ในช่วงที่มีปริมาณฝนมากเกินไป ส่วนส้มโอบางพื้นที่ ที่ปลูกในพื้นที่ดอน หากเป็นบริเวณที่ไม่มี
                  น ้าชลประทานหรือแหล่งน ้าที่ส ารองไว้ใช้เมื่อฝนทิ้งช่วง จะท าให้ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง พื้นที่

                  ปลูกส้มโอ มักจะได้รับความเสียหาย ท าให้ผลผลิตลดลง

                           - มีโรคและแมลงศัตรูพืชค่อนข้างมาก เช่น โรคแคงเกอร์ โรคกรีนนิ่ง เพลี้ยไฟ หนอนชอนใบ

                  แมลงวันทอง เป็นต้น เกษตรกรต้องให้สารเคมีป้องกันก าจัดในปริมาณมาก ท าให้ประสบปัญหา
                  สารพิษตกค้างและเป็นอุปสรรคต่อการผลิตเพื่อส่งออก

                    -       ความไม่สม ่าเสมอของคุณภาพผลผลิต โดยเฉพาะรสชาติของส้มโอที่ปลูกแต่ละแหล่งผลิต

                  หรือแม้กระทั่งแต่ละช่วงเวลาระหว่างปีที่เก็บเกี่ยวผลผลิต

                         -  ความแปรปรวนของสภาพอากาศ ท าให้เป็นปัจจัยที่ควบคุมยาก หากท าการปลูกส้มโอ
                  ในพื้นที่ที่มีการใช้น ้าฝนเพียงอย่างเดียว ก็มีความเสี่ยงในการขาดแคลนน ้า ฉะนั้นควรปลูกในพื้นที่

                  ที่มีชลประทาน และการใช้น ้าบาดาล

                         -  เกษตรกรที่จะท าการปลูกส้มโอ ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูก การดูแลรักษา และ
                  การเก็บเกี่ยว โดยเฉพาะการให้น ้า เพราะส้มโอจะมีช่วงที่ต้องอดน ้า และการใส่ปุ๋ ย ซึ่งความรู้เหล่านี้จะมี

                  ผลต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิต









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจส้มโอ                              กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   267   268   269   270   271   272   273   274   275   276   277