Page 59 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 59

2-43




































                  รูปที่ 2-4 เปรียบเทียบผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่และการคาดการณ์แนวโน้มผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ปี 2551-2560


                            2)  ระบบการเก็บเกี่ยวผลผลิตมะม่วง

                              มะม่วงเคยเป็นผลไม้ที่ปลูกกันมากแทบทุกครัวเรือนในประเทศไทย แต่ปัจจุบันนี้

                  มะม่วงกลายเป็นผลไม้ที่ปลูกเชิงการค้า และประสบความส าเร็จทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ใน
                  ประเทศ การตลาดของมะม่วง ไม่ค่อยเกิดปัญหาเรื่องมะม่วงล้นตลาด เนื่องจากคนไทยยังรับประทาน

                  มะม่วงกันเป็นหลัก ส่วนการส่งออกต่างประเทศนั้น การตลาดของมะม่วง มีรูปแบบที่ส่งออกมากที่สุด

                  คือ มะม่วงอบแห้ง รองลงมาเป็น มะม่วงสดหรือมะม่วงแช่แข็ง และมะม่วงบรรจุภาชนะที่อากาศผ่าน
                  เข้าไม่ได้ ตามล าดับตลาดส่งออกมะม่วงที่ส าคัญ ส าหรับมะม่วงสด ก็คือ ประเทศจีน เกาหลีใต้

                  เวียดนาม และญี่ปุ่น มะม่วงบรรจุภาชนะ ถูกส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และ สหราช

                  อาณาจักร มะม่วงอบแห้ง ตลาดส่งออกส าคัญ คือ สหรัฐอเมริกา ฮ่องกง และสหราชอาณาจักร ขณะที่

                  มะม่วงแช่แข็ง ส่งไปที่ประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และเนเธอร์แลนด์ แม้มะม่วงไทยจะมีจุดเด่น แต่
                  ปัจจุบันคู่แข่งส าคัญคือ ฟิลิปปินส์ และอินเดีย ท าให้ไทยต้องเร่งเพิ่มศักยภาพการผลิตมากขึ้น เช่น การ

                  ผลิตนอกฤดู การพัฒนามาตรฐานสินค้า เพื่อให้สอดคล้องกับตลาดส่งออกมากยิ่งขึ้น เกษตรกรควร

                  ศึกษาและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อพัฒนาผลผลิตและผลิตภัณฑ์จากมะม่วงให้มีคุณภาพที่ดี

                  สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เพื่อผลก าไรที่ดีและต่อเนื่อง
                              นอกจากเทคโนโลยีต่างๆ ที่เข้ามาช่วยในด้านการผลิตมะม่วงแล้ว การวางแผนผลิต

                  มะม่วงในแต่ละภูมิภาคให้เป็นระบบ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลลิตมะม่วง








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64