Page 55 - coffee
P. 55

2-37






                             กลุมชุดดินที่ 50

                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัวผุพัง

                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อหยาบ
                  ที่มาจากพวกหินตะกอนหรือจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา พบบริเวณพื้นที่ดอน มีสภาพพื้นที่

                  เปนลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเนินเขา เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี เนื้อดินที่ความลึกในชวง 50

                  เซนติเมตร ตอนบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย ในระดับความลึกประมาณ 50-100
                  เซนติเมตร  จะพบชั้นดินปนเศษหินหรือลูกรังปริมาณมาก สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัดมีคาความเปนกรดเปนดาง
                  ประมาณ 5.0-5.5 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 50 ไดแก  50B เปนดินที่พบในพื้นที่มีความ

                  ลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  50C  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  50D  เปนดินที่พบ

                  ในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต และ  50E  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต
                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา  เนื้อดิน

                  คอนขางเปนทราย ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเรื่องการชะลางพังทลายของหนาดิน

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินสวี (Sw) และชุดดินพะโตะ (Pto)

                             กลุมชุดดินที่ 51

                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัวผุพัง

                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุ
                  เนื้อคอนขางหยาบหรือคอนขางละเอียดที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอน

                  ที่เปนเนินเขาหรือบริเวณที่ลาดเชิงเขา เปนดินตื้นหรือตื้นมาก มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวกดินรวน
                  ปนเศษหิน ซึ่งเศษหินสวนใหญเปนพวกหินทราย ควอรตไซตหรือหินดินดาน และพบชั้นหินพื้นที่ความลึก

                  50 เซนติเมตร สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดจัดมากถึงกรดจัดมีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-5.5 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดิน
                  ที่ 51  ไดแก  51B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  51C  เปนดินที่พบในพื้นที่

                  มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  51D  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต   และ
                  51E  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต

                             -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เปนดินตื้น มีเศษหินปะปนอยูในเนื้อดิน

                  เปนปริมาณมาก และมีชั้นหินพื้นอยูตื้นดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะเกิด
                  การชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินหวยยอด (Ho) ชุดดินคลองเต็ง (Klt) ชุดดิน

                  ระนอง (Rg) และชุดดินยี่งอ (Yg)







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60