Page 59 - coffee
P. 59

2-41






                             กลุมชุดดินที่ 58

                       เปนกลุมชุดดินที่มีลักษณะคลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 57  คือ พบบริเวณพื้นที่ลุมต่ําหรือ

                  พื้นที่พรุมีน้ําแชขังอยูเปนเวลานานหรือตลอดป เปนดินลึกการระบายน้ําเลวมาก มีเนื้อดินเปนพวก

                  ดินอินทรียที่มีเนื้อหยาบที่มีความหนามากกวา 100 เซนติเมตร มักมีเศษพืชขนาดเล็กและขนาดใหญ
                  ปะปนอยูทั่วไป

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เปนดินอินทรียที่มีคุณภาพต่ําเปนกรด

                  รุนแรงมาก  ขาดธาตุอาหารพืชตางๆ  อยางรุนแรงและยากตอการใชเครื่องมือทางการเกษตร เนื่องจาก

                  เปนที่ลุมต่ําและดินยุบตัว หากมีการระบายน้ําออกเมื่อดินแหงจะติดไฟไดงาย
                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินนราธิวาส (Nw)


                             กลุมชุดดินที่ 59

                       กลุมดินนี้พบบริเวณที่ราบลุมหรือบริเวณพื้นลางของเนินหรือหุบเขาที่มีสภาพพื้นที่
                  ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ เปนหนวยผสมของดินหลายชนิดที่เกิดจากตะกอนลําน้ําพัดพามาทับถมกัน

                  ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว มีลักษณะและคุณสมบัติตางๆ เชน เนื้อดิน สีดิน

                  ความลึกของดิน ปฏิกิริยาดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติไมแนนอนขึ้นอยูกับชนิดของ
                  วัตถุตนกําเนิดดินในบริเวณนั้นๆ สวนมากมีกอนกรวดและเศษหินปะปนอยูในเนื้อดินดวย  กลุมชุดดิน

                  ที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 59 ไดแก  59B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต

                          -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  ดินคอนขางเปนทราย  ความอุดม-

                  สมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดน้ํา และบางปอาจถูกน้ําทวม การระบายน้ําเลวถึงคอนขางเลว
                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมดินนี้ ไดแก  หนวยผสมของดินหลายชนิดปะปนกันที่มีการ

                  ระบายน้ําคอนขางเลวหรือเลว (AC-pd : Alluvial Complex, poorly drained)


                             กลุมชุดดินที่ 60
                       กลุมดินนี้พบบริเวณสันดินริมน้ํา บริเวณพื้นที่เนินตะกอนซึ่งสวนใหญมีสภาพพื้นที่

                  คอนขางเรียบจนถึงลูกคลื่นลอนลาด  เปนหนวยผสมของดินหลายชนิดที่เกิดจากตะกอนลําน้ําพัดพา

                  มาทับถมกัน  ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง เปนดินลึกเนื้อดินเปนพวกดินรวน บางแหง

                  มีชั้นดินที่มีเนื้อดินคอนขางเปนทรายหรือมีชั้นกรวด ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอนตางยุคของดินอันเปนผล
                  มาจากการเกิดน้ําทวมใหญในอดีต ดินกลุมนี้โดยทั่วไปมีความอุดมสมบูรณปานกลาง และปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-7.0 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับ

                  กลุมชุดดินที่ 60 ไดแก  60B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต









                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64