Page 56 - coffee
P. 56

2-38






                             กลุมชุดดินที่ 52

                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากตะกอนลําน้ําทับอยูบนชั้นปูนมารล พบบริเวณที่ลาดเชิงเขาหินปูน

                  มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย เปนดินตื้นถึงตื้นมากถึงชั้นปูนมารล

                  มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเปนพวกดินเหนียว ดินรวนเหนียว หรือดินรวนเหนียวปนทรายแปงที่มีกอนปูน
                  หรือปูนมารลปะปนอยูมาก สีดินเปนสีดํา สีน้ําตาลหรือสีแดง มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ

                  ปานกลางถึงสูง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงดางปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 7.0-8.5

                  กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 52 ไดแก  52B   เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5
                  เปอรเซ็นต  52C  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  และ 52D  เปนดินที่พบในพื้นที่

                  มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต

                        -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก ดินตื้นถึงชั้นปูนมารลหรือกอนปูน เมื่อ

                   ดินแหงจะแข็งมากและเมื่อเปยกจะเหนียวทําใหไถพรวนยาก ขาดแคลนน้ํา และดินเปนดางจัด
                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินบึงชะนัง (Bng) และชุดดินตาคลี (Tk)


                             กลุมชุดดินที่ 53

                       เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต ภาคตะวันออก เกิดจากการสลายตัวผุพัง
                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อละเอียด

                  ที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอนที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา เปน

                  ดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี เนื้อดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียวทับอยูบนดินเหนียว

                  สวนดินลางในระดับความลึกระหวาง 50-100  เซนติเมตร  เปนดินเหนียวปนลูกรังหรือดินปนเศษหินผุ
                  สีดินเปนสีน้ําตาลออน สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปน

                  กรดจัดมากถึงกรดจัด  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-5.5  กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดิน

                  ที่ 53  ไดแก  53B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  53C  เปนดินที่พบในพื้นที่
                  มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  53D  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต และ

                  53E  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก  ดินลึกปานกลางถึงชั้นกรวดลูกรัง เศษหิน
                  หรือชั้นหินพื้นในชวงความลึก 50-100  เซนติเมตร ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา  ในบริเวณพื้นที่ที่มี

                  ความลาดชันสูงจะเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินนาทอน (Ntn) ชุดดินโอลําเจียก (Oc) ชุดดิน

                  ตราด (Td) และชุดดินตรัง (Tng)










                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61