Page 53 - coffee
P. 53

2-35






                  ที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 46  ไดแก  46B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  46C

                  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  46D   เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20

                  เปอรเซ็นต  และ  46E  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เปนดินตื้นมีความอุดมสมบูรณต่ํา
                  บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับการชะลางพังทลายของหนาดินไดงาย

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้  เชน ชุดดินเชียงคาน (Ch)  ชุดดินกบินทรบุรี (Kb)

                  ชุดดินโปงตอง (Po) และชุดดินสุรินทร (Su)

                             กลุมชุดดินที่ 47

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลว

                  ถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อละเอียดที่มาจากทั้งหินตะกอนหรือหินอัคนี พบ
                  บริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเนินเขา เปนดินตื้น มีการระบายน้ําดี

                  เนื้อดินเปนพวกดินเหนียวหรือดินรวนที่มีเศษหินปะปนมาก มักพบชั้นหินพื้นตื้นกวา 50 เซนติเมตร

                  สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ําถึงปานกลาง ปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดจัดถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-7.0 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดิน
                  ที่ 47 ไดแก  47B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  47C  เปนดินที่พบในพื้นที่มี

                  ความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  47D  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต และ  47E

                  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต

                       -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เปนดินตื้น มีเศษหินปะปนอยูในเนื้อดิน
                  เปนปริมาณมากในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับการชะลางพังทลายของหนาดิน

                  อยางรุนแรง

                             -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินลี้ (Li) ชุดดินมวกเหล็ก (Ml) ชุดดินทาลี่ (Tl)
                  ชุดดินนครสวรรค (Ns) ชุดดินโปงน้ํารอน (Pon) ชุดดินสบปราบ (So) และ


                             กลุมชุดดินที่ 48

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือจากการสลายตัวผุพัง
                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกลนักของวัสดุที่มีเนื้อคอนขาง

                  หยาบที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินแปร พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                  จนถึงเนินเขา เปนดินตื้นมีการระบายน้ําดี เนื้อดินบนสวนใหญเปนดินรวนปนทราย สวนดินลาง

                  เปนดินปนเศษหินหรือปนกรวด กอนกรวดสวนใหญเปนหินกลมมนหรือเศษหิน ถาเปนดินปนเศษหิน
                  มักพบชั้นหินพื้นตื้นกวา 50 เซนติเมตร สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58