Page 50 - coffee
P. 50

2-32






                             -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินจักราช (Ckr) ชุดดินชุมพวง (Cpg) ชุดดิน

                  หุบกะพง (Hg) ชุดดินหวยแถลง (Ht) ชุดดินสันปาตอง (Sp) และชุดดินยางตลาด (Yl)


                             กลุมชุดดินที่ 41

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลว
                  ถูกเคลื่อนยายมาทับถมของพวกวัสดุเนื้อหยาบหรือจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือ

                  วัตถุน้ําพาจากบริเวณที่สูง วางทับอยูบนชั้นดินรวนหยาบหรือรวนละเอียด พบในบริเวณพื้นที่ดอน

                  ที่มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง
                  เนื้อดินภายในความลึก 50-100  เซนติเมตร  เปนดินทรายหรือดินทรายปนดินรวน สวนชั้นดินถัดลงไป

                  เปนดินรวนปนทราย และดินรวนเหนียวปนทราย สีดินเปนสีน้ําตาลออนหรือสีเหลืองปนสีน้ําตาล

                  พบจุดประสีตางๆ ในดินชั้นลาง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ชั้นดินบนมีปฏิกิริยาดิน
                  เปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-6.5  สวนในดินลางปฏิกิริยาดิน

                  เปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-7.0  กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับ

                  กลุมชุดดินที่ 41 ไดแก  41B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํามาก  เนื้อดินบน
                  เปนทรายจัด  พืชที่ปลูกมีโอกาสเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําไดงาย  แตถามีฝนตกมากดินชั้นบนจะแฉะ

                  และอาจเปนอันตรายตอพืชที่ปลูกบางชนิด บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะเกิดการชะลางพังทลายไดงาย

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินบานไผ (Bpi) ชุดดินกําบง (Kg) และชุดดิน

                  มหาสารคาม (Msk)

                             กลุมชุดดินที่ 42

                             เปนกลุมชุดดินที่พบบริเวณหาดทรายเกาหรือสันทรายชายทะเลเกิดจากตะกอนทราย
                  ชายทะเล พบบนพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ดินลึกปานกลาง

                  ถึงชั้นดานอินทรีย มีการระบายน้ําดีปานกลาง เนื้อดินเปนทรายจัด สีดินบนเปนสีเทาแก ใตลงไป

                  เปนชั้นทรายสีขาว และดินลางระหวางความลึก 50-100  เซนติเมตร  เปนชั้นที่มีการสะสมของ

                  อินทรียวัตถุ เหล็กหรือฮิวมัส สีน้ําตาล สีแดง ชั้นเหลานี้มีการเชื่อมตัวกันแนนแข็งเปนชั้นดานอินทรีย
                  มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลางมีคาความเปน

                  กรดเปนดางประมาณ 5.0-6.0 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 42 ไดแก  42B  เปนดินที่พบในพื้นที่

                  มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํามาก  และเนื้อดิน
                  คอนขางเปนทรายจัด  ไมมีธาตุอาหารที่เปนประโยชนตอพืชหลงเหลืออยู  และพืชมักแสดงอาการขาด







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55