Page 47 - coffee
P. 47

2-29






                             กลุมชุดดินที่ 35

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา  หรือการสลายตัวผุพัง

                  อยูกับที่หรือการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบที่สวนใหญมาจากหินตะกอน

                  พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นจนถึงเนินเขาหรือเปนพื้นที่ภูเขา เปนดินลึกมีการ
                  ระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวนละเอียดที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย สวนดินลาง

                  เปนดินรวนเหนียวปนทราย ดินมีสีน้ําตาล สีเหลืองหรือแดง และอาจพบจุดประสีตางๆ ในชั้นดินลาง

                  ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดจัดมากมีคาความเปนกรด
                  เปนดางประมาณ 4.5-5.5 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 35 ไดแก  35B  เปนดินที่พบในพื้นที่

                  มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  35C  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  และ  35D

                  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เนื้อดินคอนขางเปนทราย และดินมี
                  ความอุดมสมบูรณต่ํา ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับชะลางพังทลายของหนาดิน

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน  ชุดดินดอนไร (Dr)  ชุดดินดานซาย (Ds)  ชุดดิน

                  หางฉัตร (Hc) ชุดดินโคราช (Kt) ชุดดินมาบบอน (Mb) ชุดดินสตึก (Suk) ชุดดินวาริน (Wn) และชุดดิน

                  ยโสธร (Yt)

                             กลุมชุดดินที่ 36

                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือการสลายตัวผุพังอยูกับที่

                  หรือการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่
                  เปนลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเนินเขา เปนดินลึกมีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง มีเนื้อดินเปนพวก

                  ดินรวนละเอียดที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย

                  หรือดินรวนเหนียว ดินมีสีน้ําตาล สีเหลืองหรือแดง และอาจพบจุดประในชั้นดินลาง ดินมีความอุดม-
                  สมบูรณตามธรรมชาติคอนขางต่ําถึงปานกลาง ดินชั้นบนสวนใหญมีปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมาก

                  ถึงกรดปานกลางมีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.0-6.0 สวนดินลางมีปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลาง

                  ถึงเปนกลางมีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 6.0-7.0 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 36 ไดแก
                  36B เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  36C เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12

                  เปอรเซ็นต และ  36D  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต

                       -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก การมีเนื้อดินคอนขางเปนทราย  ซึ่งทํา

                  ใหดินอุมน้ําไดนอย  พืชอาจขาดแคลนน้ําไดในชวงฝนทิ้งเปนระยะเวลานานๆ  สําหรับบริเวณที่มี
                  ความลาดชันสูง อาจมีปญหาเรื่องการชะลางพังทลายเกิดขึ้น








                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52