Page 46 - coffee
P. 46

2-28






                  หรือดินรวนละเอียด สีดินเปนสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนแดง บางแหงในดินลางลึกๆ มีจุดประสีเทา

                  และสีน้ําตาล อาจมีแรไมกาหรือกอนปูนปะปนอยูดวย มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง

                  ดินชั้นบนมักมีปฏิกิริยาเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 5.5-6.5
                  สวนดินลางถามีกอนปูนปะปน มีปฏิกิริยาเปนกลางถึงเปนดางจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ

                  7.0-8.5  กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 33 ไดแก  33B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5

                  เปอรเซ็นต  33C  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  33d3  เปนดินที่มีความลึกอยู

                  ที่ระดับ 50-100 เซนติเมตร และ 33sa  เปนดินที่มีคราบเกลืออยูที่ผิวดิน

                       -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก เสี่ยงตอการขาดน้ํา ในระยะที่ฝนทิ้งชวงนาน
                  บางพื้นที่อาจพบชั้นดานแข็งที่เกิดจากการเขตกรรม

                             -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน  ชุดดินดงยางเอน (Don)  ชุดดินกําแพงเพชร (Kp)

                  ชุดดินกําแพงแสน (Ks) ชุดดินลําสนธิ (Ls) ชุดดินน้ําดุก (Nd) ชุดดินธาตุพนม (Tp) และชุดดินตะพานหิน
                  (Tph)


                             กลุมชุดดินที่ 34

                             เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอน
                  ลําน้ําหรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของ

                  วัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินอัคนีหรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่คอนขาง

                  ราบเรียบถึงเปนเนินเขา เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง มีเนื้อดินเปนพวกดินรวน

                  ละเอียดที่มีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีดินเปนสีน้ําตาล
                  สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด

                  มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 34 ไดแก  34B

                  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  34C   เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12
                  เปอรเซ็นต   34D  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต และ 34E  เปนดินที่พบใน

                  พื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เนื้อดินคอนขางเปนทรายและดินมี
                  ความอุดมสมบูรณต่ํา ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปญหาเกี่ยวกับชะลางพังทลายของหนาดิน

                             -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้  เชน   ชุดดินฉลอง (Chl)  ชุดดินฝงแดง (Fd)  ชุดดิน

                  ควนกาหลง (Kkl) ชุดดินคลองทอม (Km) ชุดดินคลองนกกระทุง (Knk) ชุดดินละหาน (Lh) ชุดดิน

                  นาทาม (Ntm) และชุดดินทาแซะ (Te)









                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51