Page 49 - coffee
P. 49

2-31






                             -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน  ชุดดินเชียงใหม (Cm)  ชุดดินชุมพลบุรี (Chp)

                  ชุดดินดอนเจดีย (Dc) ชุดดินไทรงาม (Sg) และชุดดินทามวง (Tm)


                             กลุมชุดดินที่ 39

                             เปนกลุมชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เชน ภาคใต เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา
                  หรือจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบ

                  ที่มาจากพวกหินอัคนีหรือหินตะกอน พบบริเวณพื้นที่ดอนที่มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปน

                  เนินเขา เปนดินลึกที่มีการระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง เนื้อดินเปนพวกดินรวนหยาบ สีดินเปนสีน้ําตาล
                  สีเหลืองหรือสีแดง และอาจพบจุดประสีตางๆ ในชั้นดินลาง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ 4.5-5.5 กลุมชุดดิน

                  ที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 39 ไดแก  39B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  39C
                  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  39D  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20

                  เปอรเซ็นต  และ 39E  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินคอนขางเปนทรายมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                  และมีปญหาเกี่ยวกับการชะลางพังทลายของหนาดินโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน  ชุดดินคอหงส (Kh)  ชุดดินนาทวี (Nat)  ชุดดิน
                  สะเดา (Sd) และชุดดินทุงหวา (Tg)


                             กลุมชุดดินที่ 40
                             เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากวัตถุตนกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ํา หรือจากการสลายตัวผุพัง

                  อยูกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแลวถูกเคลื่อนยายมาทับถมของพวกวัสดุเนื้อหยาบ เปนพื้นที่ดอน

                  ที่มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นจนถึงเนินเขาหรือเปนพื้นที่ภูเขา เปนดินลึก มีการระบายน้ําดี เนื้อดินเปน
                  พวกดินรวนหยาบ ดินมีสีน้ําตาล สีเหลืองหรือแดง และอาจพบจุดประสีตางๆ ในชั้นดินลาง ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดจัดมาก มีคาความเปนกรดเปนดาง

                  ประมาณ 4.5-5.5 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 40  ไดแก  40B  เปนดินที่พบในพื้นที่มี

                  ความลาดชัน 2-5 เปอรเซ็นต  40C    เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  และ 40D
                  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต

                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เนื้อดินคอนขางเปนทราย  พืชที่ปลูก

                  มีโอกาสเสี่ยงตอการขาดแคลนน้ําไดงาย  ดินมีความอุดมสมบูรณต่ําและมีปญหาเกี่ยวกับการชะลาง

                  พังทลายของหนาดินโดยเฉพาะบริเวณที่มีความลาดชันสูง









                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54