Page 58 - coffee
P. 58

2-40






                       -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  ดินมีโครงสรางแนนทึบยากตอการชอนไช

                  ของรากพืช มักเกิดขั้นดานไถพรวนไดงาย หากไถพรวนในระยะเวลาที่ไมเหมาะสม

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินจัตุรัส (Ct) และชุดดินวังสะพุง (Ws)


                             กลุมชุดดินที่ 56
                       เปนกลุมชุดดินที่เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ หรือจากการสลายตัวผุพังแลว

                  ถูกเคลื่อนยายมาทับถมในระยะทางไมไกลนักของวัสดุเนื้อหยาบที่มาจากพวกหินตะกอนหรือหินอัคนี พบ

                  บริเวณพื้นที่ดอนมีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดจนถึงเนินเขา เปนดินลึกปานกลาง มีการระบายน้ําดี
                  เนื้อดินตอนบนชวง 50  เซนติเมตร  เปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย สวนดินลางเปนดินปนเศษหิน

                  มักพบชั้นพบหินพื้นลึกกวา 100 เซนติเมตร สีดินเปนสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดง ดินมีความอุดมสมบูรณ

                  ตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง มีคาความเปนกรดเปนดางประมาณ
                  5.0-6.0 กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 56 ไดแก  56B  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5

                  เปอรเซ็นต  56C  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  56D  เปนดินที่พบในพื้นที่มี

                  ความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต  และ 56E  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต

                          -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  ดินมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา  ถา

                  ปลูกพืชในบริเวณที่มีความลาดชันสูงโดยไมมีการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมอาจเกิดปญหาดาน
                  การชะลางพังทลายของดิน

                             -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินลาดหญา (Ly) ชุดดินภูสะนา (Ps) และชุด

                  ดินโพนงาม (Png)

                             กลุมชุดดินที่ 57

                             เปนกลุมชุดดินที่พบบริเวณพื้นที่ลุมต่ําหรือพื้นที่พรุมีน้ําแชขังอยูเปนเวลานาน การ

                  ระบายน้ําเลวมาก มีเนื้อดินเปนพวกดินอินทรียที่สลายตัวปานกลางหนา 40-100 เซนติเมตร บางแหงเปน
                  ชั้นอินทรียวัตถุสลับกับพวกดินอนินทรีย สีดินเปนสีดําหรือสีน้ําตาลในชั้นดินอินทรีย สวนดินอนินทรีย

                  ที่เกิดเปนชั้นสลับอยูมีสีเปนสีเทา ใตชั้นดินอินทรียลงไปเปนดินเลนตะกอนน้ําทะเลที่มักจะพบ

                  ระหวางความลึก 50-100 เซนติเมตร มีสีเทาหรือสีเทาปนเขียว และมีสารประกอบกํามะถัน (ไพไรต) อยูมาก

                  มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากมีคาความเปนกรดเปนดางนอยกวา 4.5
                      -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  เปนดินอินทรีย  เมื่อแหงจะยุบตัว  และ

                  ปฏิกิริยาดินจะเปนกรดรุนแรงมาก   ทําใหขาดธาตุอาหารพืชอยางรุนแรง  นอกจากนี้ยังเปนพื้นที่ที่มี

                  น้ําแชขังอยูตลอดเวลา
                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมชุดดินนี้ เชน ชุดดินกาบแดง (Kd)







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63