Page 60 - coffee
P. 60

2-42






                          -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม ไดแก ดินปนทราย ความอุดมสมบูรณต่ํา  ในพื้นที่

                  ที่มีความลาดชันสูงงายตอการถูกชะลางพังทลาย และสูญเสียหนาดิน

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมดินนี้ ไดแก  หนวยผสมของดินหลายชนิดปะปนกันที่มีการ
                  ระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง (AC-wd : Alluvial Complex, well drained)


                             กลุมชุดดินที่ 61
                       กลุมดินนี้เปนหนวยผสมของดินหลายชนิด ซึ่งเกิดจากการผุพังสลายตัวของหิน

                  ตนกําเนิดชนิดตางๆ แลวถูกพัดพามาทับทมบริเวณที่ลาดเชิงเขา มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึง

                  ลอนชัน ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ําดีถึงปานกลาง มีลักษณะและสมบัติตางๆ เชน เนื้อดิน สีดิน
                  ความลึกของดิน ปฏิกิริยาดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติไมแนนอน ซึ่งขึ้นอยูกับชนิด

                  ของวัตถุตนกําเนิดดินในบริเวณนั้นๆ สวนใหญมักมีเศษหิน กอนหินและหินพื้นโผลกระจัดกระจายทั่วไป

                  กลุมชุดดินที่คลายคลึงกับกลุมชุดดินที่ 61 ไดแก 61B    เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 2-5
                  เปอรเซ็นต  61C  เปนดินที่พบในพื้นที่มีความลาดชัน 5-12 เปอรเซ็นต  และ 61D  เปนดินที่พบในพื้นที่มี

                  ความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต เนื่องจากหนวยแผนที่นี้ประกอบดวยดินบริเวณเชิงเขาที่มีดินหลาย

                  อยางเกิดปะปนกัน ดังนั้นในแผนที่ดินระดับจังหวัดจึงเรียกดินเหลานี้วา ดินที่ลาดเชิงเขา
                             -  ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก  มีกอนหินกระจัดกระจายทั่วไปบนดิน

                  พื้นที่ที่มีความลาดชันหนาดินงายตอการถูกชะลางพังทลาย

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมดินนี้ ไดแก พื้นที่ดินลาดเชิงเขา (Colluvium complex)

                             กลุมชุดดินที่ 62

                             กลุมดินนี้ประกอบดวยพื้นที่ภูเขา และเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกวา 35  เปอรเซ็นต
                  ลักษณะและสมบัติของดินที่พบไมแนนอนมีทั้งดินลึก และดินตื้น ลักษณะของเนื้อดิน และความ

                  อุดมสมบูรณตามธรรมชาติแตกตางกันไปแลวแตชนิดของหินตนกําเนิดในบริเวณนั้นมักมีเศษหิน

                  กอนหินหรือพื้นโผลกระจัดกระจายทั่วไป สวนใหญยังปกคลุมดวยปาไมประเภทตางๆ เชน ปาเบญจพรรณ
                  ปาเต็งรังหรือปาดงดิบชื้น หลายแหงมีการทําไรเลื่อนลอยโดยปราศจากมาตรการในการอนุรักษดินและน้ํา

                  ซึ่งเปนผลทําใหเกิดการชะลางพังทลายของหนาดินจนบางแหงเหลือแตหินโผล กลุมดินนี้ไมควร

                  นํามาใชประโยชนทางการเกษตร  เนื่องจากมีปญหาหลายประการที่มีผลกระทบตอระบบนิเวศ  ควร
                  สงวนไวเปนปาตามธรรมชาติ เพื่อเปนแหลงตนน้ําลําธารตอไป

                           - ปญหาในการใชที่ดินดานเกษตรกรรม  ไดแก สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ถูกชะลาง

                  พังทลายสูญเสียหนาดินไดงาย สงผลกระทบตอระบบนิเวศจึงไมควรนํามาใชประโยชนทาง
                  การเกษตร แตควรสงวนไวเปนปาตามธรรมชาติ เพื่อรักษาแหลงตนน้ําลําธาร

                          -  ตัวอยางชุดดินในกลุมดินนี้ ไดแก พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC)






                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65