Page 246 - coffee
P. 246

4-16







                  4.3  รูปแบบการพัฒนาพื้นที่ในเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ

                        เนื่องจากในการกําหนดเขตใชหลักเกณฑสําหรับแตละเขตที่ตางกันสงผลใหแตละเขต
                  มีศักยภาพในการพัฒนาไมเทากันจึงนําไปสูการกําหนดรูปแบบการพัฒนาพื้นที่ในแตละเขตการใชที่ดิน

                  พืชเศรษฐกิจกาแฟ ซึ่งรูปแบบการพัฒนาพื้นที่มีรายละเอียดดังนี้


                        4.3.1 เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่มีความเหมาะสม (Z-I)
                          1)  สงเสริมการปรับปรุงบํารุงดินและฟนฟูคุณภาพดิน เพื่อยกระดับความอุดมสมบูรณ

                  ของดินใหอยูในระดับที่เหมาะสม โดยการตรวจสอบคุณภาพดินและวิเคราะหธาตุอาหารพืชในดิน

                  เพื่อประเมินระดับความตองการธาตุอาหารพืชที่เหมาะสมตรงตามความตองการของพืชที่ปลูก และ
                  เลือกใสปุยใหสอดคลองกับคาวิเคราะหดินรวมกับการใสปุยหมักหรือปุยคอก เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ

                  อีกทั้งชวยเพิ่มความสามารถในการดูดยึดธาตุอาหารพืช และลดตนทุนในการผลิต ซึ่งจะชวยให

                  เกษตรกรไดรับผลตอบแทนสูงสุด และมีประสิทธิภาพในการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น
                          2)  สงเสริมและสนับสนุนการทําการเกษตรในระบบที่ยั่งยืน อาทิเกษตรอินทรีย เกษตร

                  ทฤษฎีใหม เกษตรพอเพียง หรือเกษตรผสมผสาน  เพื่อชวยลดตนทุนจากการใชสารเคมี และลดความ

                  เสี่ยงดานราคาจากการปลูกพืชเดี่ยว

                            3)  ควรสรางแหลงน้ําเพิ่มเติม เพื่อบรรเทาปญหาภัยแลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
                          4)  ควรรักษาความชื้นในดินใหคงที่ดวยการคลุมดินดวยเศษซากพืช


                        4.3.2 เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่มีความเหมาะสม  แตตองมีมาตรการเสริมดานการ

                  จัดการพื้นที่ (Z-II)
                          1)  สงเสริมการปรับปรุงบํารุงดินและฟนฟูคุณภาพดิน เพื่อยกระดับความอุดมสมบูรณ

                  ของดินใหอยูในระดับที่เหมาะสม โดยการตรวจสอบคุณภาพดินและวิเคราะหธาตุอาหารพืชในดิน

                  เพื่อประเมินระดับความตองการธาตุอาหารพืชที่เหมาะสมตรงตามความตองการของพืชที่ปลูก และ
                  เลือกใสปุยใหสอดคลองกับคาวิเคราะหดินรวมกับการใสปุยหมักหรือปุยคอก เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ

                  อีกทั้งชวยเพิ่มความสามารถในการดูดยึดธาตุอาหารพืช และลดตนทุนในการผลิต ซึ่งจะชวยให

                  เกษตรกรไดรับผลตอบแทนสูงสุด และมีประสิทธิภาพในการเพาะปลูกเพิ่มขึ้น
                          2)  สงเสริมและสนับสนุนการทําการเกษตรในระบบที่ยั่งยืน อาทิเกษตรอินทรีย เกษตร

                  ทฤษฎีใหม เกษตรพอเพียง หรือเกษตรผสมผสาน  เพื่อชวยลดตนทุนจากการใชสารเคมี และลดความ

                  เสี่ยงดานราคาจากการปลูกพืชเดี่ยว

                            3)  ควรสรางแหลงน้ําเพิ่มเติม เพื่อบรรเทาปญหาภัยแลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
                          4)  ควรรักษาความชื้นในดินใหคงที่ดวยการคลุมดินดวยเศษซากพืช







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251