Page 250 - coffee
P. 250

4-20






                  ผลผลิตเฉลี่ยจากการประเมินผลผลิตตามศักยภาพของดิน) ซึ่งนอยกวาผลผลิตตามความตองการใช

                  ในประเทศ 25,043.87 ตัน แตจากสถานการณปจจุบันคาดวาปริมาณผลผลิตที่ออกสูตลาดจะเพียงพอตอ

                  การบริโภคภายในประเทศตามความตองการใชคาดการณตลอดระยะเวลา 5 ป (ตามเปาหมายของ
                  ยุทธศาสตรกาแฟ ป 2552-2556) และคงมีผลผลิตเพื่อการสงออกเพียงพอกับปริมาณสงออกคาดการณ

                  ทั้งนี้เนื่องจากยังมีผลผลิตบางสวนที่ไดจากบริเวณที่ปจจุบันเกษตรกรมีการใชพื้นที่เพื่อ

                  การปลูกกาแฟแตเปนพื้นที่ไมมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชกาแฟ เชน พื้นที่ลาดชันเชิงซอน

                  พื้นที่ที่เปนดินตื้นถึงชั้นหินพื้น พื้นที่ลุมนอกเขตปาตามกฎหมาย (เนื้อที่รวม 55,691 ไร) และผลผลิต
                  จากแปลงปลูกกาแฟที่มีพื้นที่อยูในเขตปาไมตามกฎหมายซึ่งกําลังรอการพิสูจนสิทธิ์ตาม

                  มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 (เนื้อที่รวม 274,973 ไร) โดยจะมีผลผลิตจากบริเวณ

                  ดังกลาวออกสูตลาดรวมประมาณ 37,396.32 ตัน

                        4.5.2 ขอเสนอแนะ

                             จากยุทธศาสตรกาแฟที่ตองการเพิ่มผลผลิตตอไรในพื้นที่ที่ปลูกกาแฟเดี่ยวเปน 300

                  กิโลกรัมตอไร และพื้นที่ที่ปลูกกาแฟผสมพืชอื่นเปน 180 กิโลกรัมตอไร พื้นที่ที่ควรเรงเขาไป
                  ดําเนินการเพื่อยกระดับผลผลิตเปนอันดับแรก ไดแก พื้นที่ในเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ

                  ที่มีความเหมาะสม (Z-I) และเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่มีความเหมาะสม แตตองมีมาตรการเสริม

                  ดานการจัดการพื้นที่ (Z-II) ตามลําดับ เนื่องจากเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตตามธรรมชาติสูง และ
                  มีความพรอมที่จะยกระดับผลผลิตใหสูงขึ้นไดมากที่สุด ถามีการปรับปรุงบํารุงดินอยางสม่ําเสมอ

                  รวมถึงมีการใสปุยในอัตราที่เหมาะสมตามคาการวิเคราะหดิน และเมื่อมีการจัดการที่ดีจะชวยให

                  การใชที่ดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตในพื้นที่ดังกลาวไดในที่สุด

                             นอกจากพื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตตามธรรมชาติสูงแลวควรมีการสงเสริมหรือเพิ่ม
                  มาตรการในการดูแลจัดการพื้นที่ในเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่มีความเหมาะสมปานกลางที่

                  ปจจุบันเกษตรกรใชพื้นที่เพื่อการปลูกกาแฟอยูโดยการยกระดับผลผลิตใหอยูในปริมาณที่เหมาะสม

                  ไมลดต่ําลงไปกวาในปจจุบัน ซึ่งจะชวยใหเกษตรกรผูปลูกกาแฟยังคงประกอบอาชีพนี้ไดตอไป
                             สําหรับแนวทางการพัฒนาพื้นที่ในแตละเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟนั้นควรมี

                  การจัดการพื้นที่เพื่อใหเหมาะสมกับศักยภาพของที่ดิน โดยคํานึงถึงขอเสนอแนะและมาตรการตางๆ

                  ที่จะดําเนินการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อชวยสงเสริมและสนับสนุนเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต

                  และลดตนทุนการผลิต รวมทั้งการพัฒนาเพื่อเพิ่มคุณภาพกาแฟไทยใหมีมากยิ่งขึ้น โดยมีขอเสนอแนะดังนี้













                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255