Page 38 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน
P. 38

2-26





                              1) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคเหนือ

                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคเหนือแบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จ านวน 15
                  โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 24,712 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 2,101,923 ไร่ โครงการ     ขนาด
                  กลาง จ านวน 206 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 981 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 2,608,895 ไร่

                  โครงการขนาดเล็ก จ านวน 3,863 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 416 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน
                  536,313 ไร่ และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 848 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 1,339,990 ไร่
                              2) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเป็นโครงการ  ขนาด
                  ใหญ่ จ านวน 20 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 8,146 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 2,460,676

                  ไร่ โครงการขนาดกลาง จ านวน 334 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 1,672 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่
                  ชลประทาน 1,420,655 ไร่ โครงการขนาดเล็ก จ านวน 5,131 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก      907
                  ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 55,309 ไร่ และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 1,262 โครงการ

                  พื้นที่ชลประทาน 2,355,039 ไร่
                              3) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคกลาง
                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคกลางแบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จ านวน
                  44 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 29,184 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 10,506,020 ไร่ โครงการ

                  ขนาดกลาง จ านวน 73 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 374 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 498,184 ไร่
                  โครงการขนาดเล็ก จ านวน 1,285 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 277 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน
                  105,755 ไร่ และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 81 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 126,250 ไร่
                              4) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคตะวันออก

                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคตะวันออกแบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่
                  จ านวน 6 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 847 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 1,413,855 ไร่ โครงการ
                  ขนาดกลาง จ านวน 66 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 570 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 663,415 ไร่
                  โครงการขนาดเล็ก จ านวน 843 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 51 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน

                  51,239 ไร่ และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 104 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 211,983 ไร่
                              5) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคใต้
                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคใต้แบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จ านวน

                   8 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 7,123 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 1,316,594 ไร่ โครงการ
                  ขนาดกลาง จ านวน 80 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 263 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 1,080,615 ไร่
                  โครงการขนาดเล็ก จ านวน 2,217 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 98 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน
                  226,427 ไร่ และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 131 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 225,895 ไร่


                  2.5  การใช้ประโยชน์ที่ดิน

                        ขมิ้นชันมีพื้นที่ปลูกไม่น้อยกว่า 50,000 ไร่ มีผลผลิต 7,500 ตันต่อปี มูลค่าไม่น้อยกว่า 45 ล้านบาท
                  สามารถปลูกได้ทุกภาคของประเทศไทย แหล่งปลูกที่ส าคัญ ได้แก่ พังงา สุราษฎร์ธานี กระบี่ ตาก
                  พิษณุโลก นครพนม กาญจนบุรี และราชบุรี (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2559)






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน                    กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43