Page 36 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน
P. 36

2-24





                  จะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกยางพารา มะพร้าวหรือไม้ผล

                  บางชนิด บางแห่งเป็นที่รกร้างว่างเปล่า หรือทุ่งหญ้าธรรมชาติ
                            3.9)  หน่วยที่ดินที่ 50 50I 50gm 50B 50BI 50C 50CI 50D และ50E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกปานกลาง การ

                  ระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละ
                  ความอิ่มตัวเบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5 ดินล่างมี
                  เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินเหนียวปนกรวดมาก และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-5.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินลึกปานกลาง มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า เนื้อ
                  ดินค่อนข้างเป็นทราย บางแห่งดินเป็นกรดจัดมาก ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมีปัญหาการชะล้าง

                  พังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ปลูกยางพารา ไม้ผล สับปะรด กล้วย และแตงโม
                            3.10) หน่วยที่ดินที่ 51 51B 51BI 51C 51CI 51D และ51E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น การระบาย

                  น้ าดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า ดิน
                  บนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดิน
                  ร่วนเหนียวปนกรวดมากถึงชั้นหินพื้น และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้น มีเศษหินปะปนอยู่ในเนื้อดินเป็น

                  ปริมาณมาก และมีชั้นหินพื้นอยู่ตื้น ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะเกิดการ
                  ชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นป่าดิบชื้น บางแห่งใช้ปลูกยางพารา หรือปล่อย
                  ทิ้งเป็นป่าละเมาะ
                            3.11) หน่วยที่ดินที่ 53 53I 53B 53BI 53C 53CI 53D และ53E

                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกปานกลาง การ
                  ระบายน้ าดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลางถึงค่อนข้างสูง อัตราร้อย
                  ละความอิ่มตัวเบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-5.5 ดินล่างมี
                  เนื้อดินเป็นดินเหนียว หรือดินเหนียวปนกรวดมาก และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5

                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินลึกปานกลาง พบชั้นก้อนกรวด หรือลูกรัง
                  ในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร จากผิวดิน และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในบริเวณพื้นที่มีความ
                  ลาดชันสูง จะเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ปลูกยางพารา ไม้ผล

                  กาแฟ และพืชไร่บางชนิด
                          4) กลุ่มชุดดินที่มีความลาดชันสูง
                            พบในพื้นที่ภูเขา และเทือกเขา ที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62
                            4.1)  หน่วยที่ดินที่ 62
                                หน่วยที่ดินนี้ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขา และเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35

                  เปอร์เซ็นต์ ลักษณะ และสมบัติของดินที่พบไม่แน่นอน มีทั้งดินลึก และดินตื้น ลักษณะของเนื้อดินและ
                  ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของหินต้นก าเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน
                  ก้อนหิน หรือพื้นโผล่กระจัดกระจายทั่วไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ประเภทต่างๆ เช่น ป่าเบญจ
                  พรรณป่าเต็งรัง หรือป่าดงดิบชื้น หลายแห่งมีการท าเกษตรกรรมประเภทท าโดยปราศจากมาตรการใน






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน                    กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41