Page 31 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน
P. 31

2-19





                            2.13) หน่วยที่ดินที่ 46 46I 46b 46bI 46gm 46B 46BI 46Bb 46BbI 46C 46CI
                  46D และ46E

                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น การระบาย
                  น้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัว
                  เบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-7.0 ดินล่างมีเนื้อ
                  ดินเป็นดินเหนียวปนกรวดมาก และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้นถึงชั้นลูกรัง พบก้อนกรวด หรือ
                  ลูกรังภายในระดับความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า บริเวณที่มีความลาดชันสูง

                  จะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกพืชไร่บางชนิด เช่น มัน
                  ส าปะหลัง อ้อย และปอ บางแห่งเป็นทุ่งหญ้าธรรมชาติ และป่าละเมาะ หรือมีการปลูกป่าทดแทน
                            2.14) หน่วยที่ดินที่ 47 47I 47B 47BI 47Bb 47BbI 47C 47CI 47D และ47E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น การระบาย
                  น้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลางถึงค่อนข้างสูง
                  อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสค่อนข้างต่ าถึงปานกลาง ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด และค่า
                  ความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-7.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนกรวดมาก และค่าความเป็นกรดเป็น

                  ด่าง 5.5-6.5
                                  ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้นถึงชั้นหินพื้น และมีเศษหิน
                  ปะปนอยู่ในเนื้อดินเป็นปริมาณมาก ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลาย
                  ของหน้าดินอย่างรุนแรง ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ เป็นป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรังหรือป่าละเมาะ บางแห่งใช้ท า
                  ไร่เลื่อนลอย หรือปลูกป่าทดแทน
                            2.15) หน่วยที่ดินที่ 48 48I 48gm 48gmI 48B 48BI 48Bb 48C 48CI 48D และ48E

                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น การระบาย
                  น้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความ
                  อิ่มตัวเบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายปนกรวด และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.0
                  ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายปนกรวดมากถึงชั้นหินพื้น และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง

                  5.5-6.0
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้นมาก บริเวณที่มีความลาดชันสูงจะ
                  เกิดปัญหาการชะล้างพังทลายได้ง่าย และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจ

                  พรรณ ป่าเต็งรัง ป่าละเมาะ และทุ่งหญ้าธรรมชาติ บางแห่งใช้ปลูกพืชไร่ หรือไม้โตเร็ว
                            2.16) หน่วยที่ดินที่ 49 49I 49dan 49danI 49sheet 49B 49BI 49Bb 49BbI
                  49Bdan 49Bsheet 49BsheetI 49C 49Cdan และ49D
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินตื้น การ
                  ระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลางถึง

                  ค่อนข้างสูง อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความเป็นกรด
                  เป็นด่าง 5.0-6.5 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนกรวดมาก หรือดินเหนียว และค่าความเป็นกรดเป็น
                  ด่าง 4.5-5.5








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน                    กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36