Page 29 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน
P. 29

2-17





                            2.6)  หน่วยดินที่ 35 35I 35b 35bI 35d3c 35d3cI 35gm 35gmI 35B 35BI
                  35Bb 35BbI 35Bb,d3c 35Bd3c 35Bd3cI 35Bgm 35BgmI 35C 35CI 35Cd3c 35Cd3cI 35D

                  และ35E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การ
                  ระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละ
                  ความอิ่มตัวเบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-6.5 ดินล่างมี
                  เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.0
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ท าให้มี

                  ความสามารถในการอุ้มน้ าค่อนข้างต่ า และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมี
                  ปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น มันส าปะหลัง ข้าวโพด
                  ข้าวฟ่าง และถั่วต่างๆ บางแห่งใช้ปลูกไม้ผล และไม้ยืนต้น
                            2.7)  หน่วยที่ดินที่ 36 36I 36b 36bI 36gm 36gmI 36B 36BI 36Bb 36BbI
                  36Bd3c 36Bd3cI 36Bgm 36BgmI 36C 36CI 36D และ36E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การ
                  ระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ าถึงปานกลาง ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า

                  อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสค่อนข้างต่ าถึงปานกลาง ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความ
                  เป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                  6.0-7.0
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ การมีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ท าให้ดินอุ้ม
                  น้ าได้น้อย พืชอาจขาดแคลนน้ าได้ในระยะฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน ส าหรับบริเวณที่มีความลาดชันสูง
                  อาจมีปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น อ้อย ข้าวโพด ถั่ว

                  สับปะรด และไม้ผลบางชนิด
                            2.8)  หน่วยที่ดินที่ 37 37I 37b 37bI 37gm 37gmI 37B 37BI 37Bb 37BbI
                  37Bgm 37BgmI 37C และ37D
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินลึกมาก
                  การระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละ
                  ความอิ่มตัวเบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-5.5 ดิน
                  ล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า และหน้าดิน

                  ค่อนข้างเป็นทรายหนา ท าให้มีความสามารถในการอุ้มน้ าต่ า พืชอาจขาดแคลนน้ าในระยะฝนทิ้งช่วงเป็น
                  เวลานาน ส าหรับบริเวณที่มีความลาดชันสูงอาจเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้
                  ปลูกพืชไร่ต่างๆ เช่น อ้อย ข้าวโพด ถั่ว สับปะรด และไม้ผลบางชนิด
                            2.9)  หน่วยที่ดิน 38 38I 38b 38bI 38B 38BI 38Bb และ38BbI
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดิน
                  ลึกมาก การระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออน

                  ปานกลางถึงค่อนข้างสูง อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสค่อนข้างต่ าถึงปานกลาง ดินบนมีเนื้อดินเป็นดิน
                  ร่วนปนทราย หรือดินทรายปนดินร่วน หรือดินร่วน และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5 ดินล่างมีเนื้อ
                  ดินเป็นดินร่วนปนทราย หรือดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินร่วน และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 6.0-7.0





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจขมิ้นชัน                    กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34