Page 40 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 40

29







                       ละต้นในระยะนี มีความสัมพันธ์โดยตรงกับน  าหนักของแต่ละล าต้น และน  าหนักแต่ละล าต้น มีผลโดยตรง
                       ต่อผลผลิตน  าหนักของอ้อยทั งไร่ เมื่อเก็บเกี่ยว
                                        ๔) ระยะแก่และสุก (maturity and ripening phase) ระยะแก่คือระยะที่มีอัตรา
                       การเจริญเติบโตช้าลงมากเมื่อเปรียบเทียบกับระยะต่างๆ ตามที่ได้กล่าวแล้ว เมื่อการเจริญเติบโตเริ่มช้าลง

                       น  าตาลที่ใบสร้างขึ นจากการสังเคราะห์แสงก็จะถูกใช้น้อยลง และมีเหลือเก็บสะสมในล าต้นมากขึ น ซึ่งเป็น
                       การเริ่มต้นของระยะสุกนั่นเอง การสะสมน  าตาลจะเริ่มจากส่วนโคนไปหาปลาย ดังนั นส่วนโคนจึงหวาน
                       ก่อน และมีความหวานมากกว่าส่วนปลาย การสะสมน  าตาลจะมีมากขึ นโดยล าดับ จนกระทั่งส่วนโคน
                       ส่วนกลาง และส่วนปลาย มีความหวานใกล้เคียงกัน เรียกว่า สุก























                               ภาพที่ 6 การเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษ์ของอ้อย
                               ที่มา: Scarpare (n.d.)

                           3.1.3 การศึกษาการเจริญเติบโตของมันส าปะหลัง
                                 มันส าปะหลังปลูกได้ในดินทุกชนิด แต่ชอบดินร่วนปนทรายเพราะจะลงหัวและเก็บเกี่ยวง่าย

                       เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินที่ไม่มีน  าท่วมขัง มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ระหว่าง 5.5-8.0 ทนต่อ
                       สภาพความเป็นกรดสูงได้แม้ pH ของดินจะต่ าจนถึง 4.5 ก็ไม่ท าให้ผลผลิตลด แต่ไม่ทนต่อสภาพพื นที่เป็น
                       ด่าง โดยไม่สามารถขึ นได้ถ้า pH สูงถึง 8 ถ้าเป็นดินทรายสามารถปลูกได้ตลอดปี แต่เกษตรกรมักนิยม

                       ปลูกปลายฤดูฝน เช่น แถบจังหวัดระยอง และชลบุรี ถ้าเป็นดินเหนียวจะนิยมปลูกต้นฤดูฝน เพราะถ้าเป็น
                       ฤดูแล้งการไถพรวนจะได้ดินก้อนใหญ่ ท่อนพันธุ์มันส าปะหลังจะแห้งตายก่อนที่จะงอก มันส าปะหลังเป็น
                       พืชวันสั น ซึ่งปจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของมันส าปะหลังมี 2 ปจจัย คือ
                                        1) ปจจัยทางดานพันธุกรรมมันส าปะหลัง
                                         มันส าปะหลัง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ชนิดหวาน เป็นมันส าปะหลังใช้เพื่อการ

                       บริโภค มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคต่ าไม่มีรสขม สามารถใช้หัวสดท าอาหารได้โดยตรง เช่น น าไปนึ่ง
                       เชื่อม หรือทอด ซึ่งได้แก่ พันธุ์ห้านาที พันธุ์ระยอง 2 เป็นต้น 2. ชนิดขม เป็นมันส าปะหลังที่มีรสขม ไม่
                       เหมาะสมส าหรับการบริโภคของมนุษย์หรือใช้หัวสดเลี ยงสัตว์โดยตรง เนื่องจากมีปริมาณกรดไฮโดรไซ
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45