Page 44 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 44

33







                       ตารางที่ 6 ช่วงปลูกที่เหมาะสมส าหรับมันส าปะหลังในภาคกลางและภาคตะวันตก



























                                  การเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษณ์ของมันส าปะหลัง การเจริญเติบโตของมันส าปะหลัง

                       ออกเปน 5 ระยะคือ 1) ระยะแตกตา ชวงอายุ 5-15 วัน 2) ระยะสรางเนื อเยื่อใบและราก ชวงอายุ
                       15 วันถึง 3 เดือน ซึ่งในชวงหนึ่งเดือนแรกนี  เนื่องจากเนื อเยื่อใบยังพัฒนาไดไมเต็มที่ การเจริญเติบโต
                       ของมันส าปะหลังในระยะนี จึงมิใชจากการสังเคราะหแสง แตมาจากอาหารสะสมในสวนของทอนพันธุ
                       มันส าปะหลังเอง และที่ชวง 2-3 เดือนจะเริ่มมีการสะสมแปงในราก 3)ระยะการเจริญทางตนและใบ

                       ชวงอายุ 3-6 เดือน ซึ่งชวง 4-5 เดือน มันส าปะหลังจะมีพื นที่ที่จะสังเคราะหแสงไดเต็มประสิทธิภาพ
                       มากที่สุด และการสะสมแปงที่รากก็ยังคงด าเนินควบคูกันไป 4) ระยะสะสมอาหารที่หัว ชวงอายุ 6-10
                       เดือน เนื่องจากไมมีการเจริญเติบโตทางตนเพิ่มมากนัก ตนเริ่มสะสมลิกนินท าใหแข็งแรงมากขึ น ใบลาง
                       บางสวนจะรวงเพื่อลดการสูญเสียน  า อัตราการสะสมอาหารที่รากในระยะนี จะเพิ่มมากขึ น 5) ระยะพักตัว

                       ชวง 10-12 เดือน ซึ่งจะมีผลผลิตคงที่ (ปณิธิ และคณะ, 2558) ซึ่งการเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษณ์
                       ด้านการสะสมน  าหนักแห้งที่ปลูกใน 2 ฤดูโดยทั่วไปจะมีลักษณะคล้ายกัน แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลง
                       การเข้าสู่ระยะต่างๆ เมื่ออายุที่ต่างกันดังแสดงในภาพที่ 6
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49