Page 42 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 42

31







                       ผลผลิตมันแห้ง 2.11 ตันต่อไร่ ไร่ ซึ่งสูงกว่าพันธุ์มาตรฐานอื่นๆ ในหลายพื นที่ ให้ผลผลิตเอทานอลสูงกว่า
                       พันธุ์มาตรฐานทุกพันธุ์และทุกช่วงอายุการเก็บเกี่ยว โดยเก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 8-12 และ 18 เดือน จะให้
                       ผลผลิตเอทานอล 191,208 และ 194 ลิตร จากหัวสด 1 ตัน ซึ่งจะสูงกว่าพันธุ์ระยอง 90 ที่ให้เอทานอล
                       เพียง 170,174 และ 155 ลิตร จากหัวสด 1 ตัน (ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพะเยา, 2563; กรม

                       วิชาการเกษตร, 2563)
                                         1.4) พันธุ์ระยอง 72 ทรงต้นดี แตกกิ่งเล็กน้อย ในระดับที่สูงจากโคนต้น ประมาณ
                       1 เมตรท าให้สามารถขยายท่อนพันธุ์ได้มากขึ นเมื่อพิจารณาพื นที่ปลูกมันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่ง
                       ส่วนใหญ่เป็นดินทราย พืชบางชนิด ให้ผลผลิตหัวสดเฉลี่ย 5.09 ตันต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์มาตรฐาน ระยอง 1

                       ระยอง 5 ระยอง 90 และเกษตรศาสตร์ 50 ร้อยละ 27 18 26 และ 16 ตามล าดับ หัวสดมีเปอร์เซ็นต์แป้ง
                       21 เปอร์เซ็นต์ ให้ผลผลิตแป้งเฉลี่ย 1.07 ตันต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์มาตรฐานระยอง 1 ระยอง 5 ระยอง 90
                       และเกษตรศาสตร์ 50 ร้อยละ 36 12 16 และ 7 ตามล าดับ ให้ผลผลิตมันแห้งเฉลี่ย 1.70 ตันต่อไร่ สูง
                       กว่าพันธุ์มาตรฐาน ระยอง 1 ระยอง 5 ระยอง 90 และเกษตรศาสตร์ 50 ร้อยละ 31 15 22 และ 12

                       ตามล าดับ เป็นพันธุ์ที่ปรับตัวได้ดี ในสภาพแวดล้อมทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยให้ผลผลิตหัวสดสูง
                       ถึง 5.55 ตันต่อไร่ ผลผลิตแป้ง 1.23 ตันต่อไร่ และผลผลิตมันแห้ง 1.91 ตันต่อไร่ ท่อนพันธุ์ที่ใช้ปลูกมี
                       ความงอกดี ไม่มีปัญหาของโรคต้นเน่า จนถึงระยะเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยมีความอยู่รอดถึงการเก็บเกี่ยวสูง

                       92 เปอร์เซ็นต์ ไม่สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตสูง ประกอบกับเกษตรกรไม่มีเงินลงทุน ดังนั น มัน
                       ส าปะหลังพันธุ์ระยอง 72 จึงเป็นพืชที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น ขาดฝนอย่างต่อเนื่อง
                       นาน 1-2 เดือน แต่ยังสามารถ เจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้อย่างเหมาะสม ดังนั น จึงแนะน าให้เกษตรกร
                       ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปลูกซึ่งจะให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์มันส าปะหลังพันธุ์เดิมที่เคยใช้ปลูกและเพิ่ม
                       รายได้ให้เกษตรกรโดยตรง (ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพะเยา, 2563; กรมวิชาการเกษตร,

                       2563)
                                         1.5) พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 เป็นพันธุ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ล าต้นโค้ง
                       เล็กน้อย สีเขียวเงิน สูง 180-250เซนติเมตร แตกกิ่งระดับแรกที่ความสูง 80-150 เซนติเมตร ผลผลิตเฉลี่ย

                       4ศ4 ตันต่อไร่ มีแป้งเฉลี่ย 23เปอร์เซ็นต์ ในฤดูฝน และ 28 เปอร์เซ็นต์ ในฤดูแล้ง ต้นพันธุ์เก็บไว้ได้นาน
                       ประมาณ 30 วันหลังจากตัดต้นลักษณะเด่น คือ ผลผลิตสูง เปอร์เซ็นต์แป้งสูง 23% ในฤดูฝนและ 28%
                       ในฤดูแล้งต้นพันธุ์เก็บไว้ได ประมาณ 30 วันหลังจากตัดต้น (ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพะเยา,
                       2563; ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครสวรรค์, 2564)

                                        2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตของมันส าปะหลัง
                                          2.1) สภาพแวดล้อมทั่วไป
                                               มันส าปะหลังเปนพืชที่เกษตรกรในหลายประเทศโดยเฉพาะในพื นที่แห้งแล้ง
                       (ปณิธิ และคณะ, 2558) แต่อย่างไรก็ตาม สภาพพื นที่ที่เหมาะสมส าหรับปลูกมันส าปะหลัง เป็นพื นที่ที่สูง

                       จากระดับทะเลปานกลางไม่เกิน 2,000 เมตร มีความลาดชันที่เหมาะสมดีไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ สามารถ
                       ปลูกได้ในพื นที่ที่มีความลาดชันมากกว่า 5 เปอร์เซ็นต์แต่ไม่เกิน 35 เปอร์เซ็นต์ และสภาพพื นที่ที่ไม่มีน  า
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47