Page 41 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 41

30







                       ยานิคสูง มีความเป็นพิษต่อร่างกาย ต้องน าไปแปรรูปเป็นมันอัดเม็ดหรือมันเส้นแล้วจึงน าไปเลี ยงสัตว์ได้
                       ซึ่งได้แก่ พันธุ์ระยอง 1, ระยอง 2, ระยอง 5, ระยอง 60, ระยอง 90 และเกษตรศาสตร์ 50 ส าหรับมัน
                       ส าปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นชนิดขม เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมโดยพันธุ์ที่ปลูกกันมาก คือ
                       พันธุ์พื นเมือง ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นพันธุ์ที่มีการน าเข้ามาจากประเทศมาเลเซีย ต่อมากรมวิชาการเกษตร

                       และมหาวิทยาลัย ได้มีการปรับปรุงพันธุ์และแนะน าให้เกษตรกรน าไปปลูกจ านวน 7 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์
                       ระยอง 1, พันธุ์ระยอง 2, พันธุ์ระยอง 5, พันธุ์ระยอง 60, พันธุ์ระยอง 90 และพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50
                       (ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดนครสวรรค์, 2564) พันธุ์มันส าปะหลังที่เหมาะส าหรับปลูกในจังหวัด
                       ราชบุรี ได้แก่ พันธุ์ระยอง 5, 7, 9 และ 72 อย่างไรก็ตาม พันธุ์ระยอง 7 ให  ้ผลผลิตดีในทุกอ าเภอ (กรม

                       วิชาการเกษตร, 2563)
                                         1.1) พันธุ์ระยอง 5 ล าต้นสีเขียวอมน  าตาล สูงประมาณ 170 เซนติเมตร มีระดับ
                       การแตกกิ่ง 2-3 ระดับ ความสูงของการแตกกิ่งระดับแรก 100-120 เซนติเมตร มุมของกิ่ง 15-30 องศา
                       เเผ่นใบมีรูปร่างเป็นแบบใบหอก ใบแก่สีเขียวเข้ม ก้านใบสีแดงเข้ม ยอดอ่อนสีม่วงอมน  าตาล หัวรูปร่าง

                       ป้อมอ้วน เปลือกสีน  าตาลอ่อน เนื อสีขาวลักษณะเด่น :ผลผลิตหัวสดสูง 4,420 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่า
                       พันธุ์ ระยอง 1 23 เปอร์เซ็นต์ ให้ผลผลิตแป้งสูง 1,027 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าพันธุ์ระยอง 1 ระยอง 3
                       เท่ากับ 44 และ 35 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ให้ผลผลิตมันแห้งสูง 1,554 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์ระยอง

                       1 ระยอง 3 เท่ากับ 23 และ 37 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดีมีความงอกดีและ
                       อยู่รอดถึงการเก็บเกี่ยวมากถึง 93 เปอร์เซ็นต์ ต้านทานโรคใบไหม้ปานกลาง พื นที่แนะน า :ปลูกได้ทั งภาค
                       ตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เป็นแหล่งปลูกมันส าปะหลังของประเทศในต้นฤดูฝน และ
                       ปลายฤดูฝน(ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพะเยา, 2563; กรมวิชาการเกษตร, 2563)
                                         1.2) พันธุ์ระยอง 7 ล าต้นสีน  าตาลอ่อน ตั งตรง ไม่โค้งงอและไม่แตกกิ่ง ส่วนใบสี

                       เขียวอ่อน ใบกลางคล้ายรูปหอก ใบยอดสีเขียวอ่อน ก้านใบสีเขียวอ่อนมันแดง ส่วนหัวมีเปลือกสีครีม เนื อ
                       หัวสีขาว และไม่มีก้านหัว ความสูงของล าต้น 183 เซ็นติเมตร มีล าต้นที่แตกออกจากท่อนปลูก 3 ล าต้น
                       ลักษณะเด่นให้ผลผลิตเฉลี่ย 5.76 ตันต่อไร่ น  าหนักเฉลี่ย 3.60  กก. ต่อ หัวสด ฤดูเก็บเกี่ยว ตุลาคม-

                       เมษายน    อายุการเก็บเกี่ยว   10-16 เดือน ปลูกในสภาพดิน ดินร่วนปนทราย ปลูกในสภาพพื นที่ดอน
                       น  าไม่ท่วมขัง เหมาะส าหรับปลูกในสภาพ ดินเหนียว ดินเหนียวร่วนปนทราย  และดินร่วนปนทราย ค่า
                       pH ที่เหมาะสม 4.5-6 ปลูกได้ในทุกพื นที่ที่มีการปลูกมันส าปะหลัง และปลูกได้ดีทั งในต้นฤดูฝน และ
                       ปลายฤดูฝน (ส านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดพะเยา, 2563; กรมวิชาการเกษตร, 2563)

                                         1.3) พันธุ์ระยอง 9 ปลูกได้ทั่วไปทั งในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                       ศักยภาพในการให้ผลผลิตขึ นกับศักยภาพของพื นที่ ปริมาณน  าฝน และการดูแลรักษา พื นที่ที่ให้ผลผลิตได้
                       ดี ได้แก่ พื นที่ที่เป็นดินร่วนปนทราย ไม่เป็นที่ลุ่มฉ่ าน  า ไม่เป็นดินทรายจัด ร่วนเหนียวหรือลูกรัง และไม่
                       เป็นดินด่างที่มีชั นหินปูนตื น (Calcareous soil) มีปริมาณน  าฝนเฉลี่ยสูงกว่า 1,000 มิลลิเมตรต่อปี ข้อ

                       ควรระวัง :ควรเก็บเกี่ยวเมื่ออายุประมาณ 1 ปี ถ้าเก็บเกี่ยวเร็วจะให้ผลผลิตหัวสดต่ ากว่าพันธุ์มาตรฐาน
                       อื่นๆ เนื่องจากพันธุ์ระยอง 9 มีเปอร์เซ็นต์แป้งสูง แต่สะสมน  าหนักช้าให้ผลผลิตแห้ง 1.24 ตันต่อไร่ เป็น
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46