Page 36 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 36
25
เปลี่ยนแปลง ผลไม้จะสุกเร็วขึ นเนื่องจากฤดูร้อนที่ร้อนขึ น (Menzel et al., 2006; Azizan et al., 2020)
และหญ้าในสวนสาธารณะของเทศบาลและริมถนนจ าเป็นต้องตัดบ่อยขึ นและนานขึ น การเปลี่ยนแปลง
ของการออกดอกมีผลกับช่วงเวลาและความเข้มของฤดูเกสรดอกไม้ สิ่งนี แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่
ก้าวหน้าเนื่องจากหลายสายพันธุ์เริ่มออกดอกเร็วขึ น ด้วยเหตุนี ความเข้มข้นของละอองเรณูในอากาศจึง
เพิ่มขึ น (Nordic Council, 2005๗ นอกจากนี การตอบสนองทางฟีโนโลยีบางอย่างถูกกระตุ้นโดยปัจจัย
บางอย่าง เช่น อุณหภูมิ ความยาวของวัน เป็นต้น (Menzel et al., 2006) การศึกษารูปแบการ
เปลี่ยนแปลงทางชีพลักษณ์พืช ตั งแต่การงอกไปจนถึงการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ การพัฒนานี
เกี่ยวข้องขั นตอนที่เป็นวัฏจักร เช่น การผลิตใบ ดอก และ ผล การศึกษารูปแบการเปลี่ยนแปลงทางชีพ
ลักษณ์พืชสามารใช้ประยุต์ใช้เพื่อการจัดการระบบการปลูกพืชซึ่งมีการใช้มาอย่างยาวนาน เช่น ชาวมายา
โบราณนั นเข้าใจความสัมพันธ์ของพืชกับสิ่งแวดล้อมเมื่อเผชิญกับภูมิอากาศที่แตกต่างกันสถานการณ์ เช่น
ชาวมายามีการคัดเลือกพันธุ์ข้าวโพดตามช่วงอายุที่ต่างกัน ได้แก่ พันธุ์ที่มีอายุสั น ใช้ระยะเวลาปลูก 7–10
สัปดาห์ และพันธุ์ที่มีอายุยาวใช้ระยะเวลาปลูก 12 ถึง 16 สัปดาห์ ซึ่งระยะเวลาการเพาะปลูกมี
ความส าคัญต่อการจัดการและผลผลิตที่ได้รับ
3.1.2 การศึกษาการเจริญเติบโตของอ้อย
อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญของประเทศไทย ปัจจุบันมีพื นที่ปลูกมากกว่า 10 ล้านไร
ผลผลิตป 2557/2558 ประมาณ 105.9 ล้านตัน โดยมีผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 10 ตันต่อไร ซึ่งนับว่าต่ า
มากเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคู่แขงทั ง ๆ ที่ประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตร์ และภูมิอากาศเหมาะสม
ต่อการปลูกอ้อยเป็นอย่างมาก แตขอจ ากัดที่ท าใหผลผลิตออยในภาพรวมของประเทศต่ า เนื่องจากชาวไร
อ้อยสวนใหญปลูกออยโดยอาศัยน าฝนเป็นหลัก ประกอบกับชาวไรอ้อยไมมีความช านาญในการปลูกอ้อย
ทั งยังขาดความรูความเขาใจด้านการบริหารจัดการด้านน า ดินและปุย รวมถึงไมสามารถเขาถึงหรือรับรูถึง
เทคโนโลยีที่เหมาะสมในแตละพื นที่ (ส านักงานคณะกรรมการออยและน าตาลทราย, ม.ป.ป.) ซึ่งปัจจัยที่มี
ผลต่อการเจริญเติบโตของอ้อยมี 2 ปจจัย คือ
1) ปัจจัยทางดานพันธุกรรมอ้อย
พันธุ์อ้อยจะเป็นตัวก าหนดผลผลิตอ้อยตันต่อไร่ แต่ยังมีปัจจัยอื่น ๆ เป็นตัวก าหนดปริมาณ
ผลผลิตด้วย จากการประเมินผลผลิตของอ้อยพันธุ์ต่าง ๆ ที่พัฒนาขึ นโดยกรมวิชาการเกษตร โดยนายวีระ
พล พลรักดี ผู้เชี่ยวชาญด้านพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร พบว่า ความแปรปรวนของผลผลิตอ้อย เกิดจาก
สภาพแวดล้อม พันธุกรรมของอ้อย และปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม ดังนี ใน
อ้อยปลูกเท่ากับร้อยละ 73.9 9.6 และ 16.5 ในอ้อยตอ 1 เท่ากับร้อยละ 67.1 17.2 และ 15.7 และใน
อ้อยตอ 2 เท่ากับ ร้อยละ 43.3 36.3 และ 20.4 ตามล าดับ จากข้อมูลนี แสดงว่า ผลผลิตอ้อยจะขึ นกับ
อิทธิพล ของสภาพแวดล้อมเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอ้อยปลูก และอิทธิพลของสภาพแวดล้อมจะลดลงใน
อ้อยตอ ส่วนอิทธิพลของพันธุ์มีค่อนข้างน้อยในอ้อยปลูก แต่จะเพิ่มมากขึ นใน อ้อยตอ ดังนั น การเลือก
พันธุ์อ้อยที่ดี จึงมีความส าคัญ เกษตรกรสามารถเลือกพันธุ์ที่ดีมาปลูกในพื นที่ของตนเองได้แต่
สภาพแวดล้อมเป็นสิ่งที่ควบคุมได้ยาก (ส านักงานคณะกรรมการออยและน าตาลทราย, 2563)