Page 39 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 39

28







                       5.9% ต่อการเพิ่มความเค็มของดิน 1 เดซิซีเม็น/เมตรผลผลิตลดลงอย่างรุนแรงที่ระดับความเค็ม 4-8 เดซิ
                       ซีเม็น/เมตร และหยุดการเติบโตหรือตายเมื่อความเค็มของดินสูงกว่า 10 เดซิซีเม็น/เมตร (ยงยุทธ, 2556)
                                   2.2) ช่วงเวลาปลูก
                                        ในประเทศไทยมีการปลูกอ้อย 3 ช่วง ได้แก่ 1. ปลูกอ้อยต้นฝน (ปลายเมษายน-ต้น

                       มิถุนายน) ควรเลือกพันธุ์อ้อยที่โตเร็ว สะสมน  าตาลเร็ว มีอายุการเก็บเกี่ยว 9 - 10 เดือน (พันธุ์เบา) 2.
                       ปลูกอ้อยน  าราด หรือน  าสูบ (มกราคม-มีนาคม) ควรเลือกพันธุ์ที่มีการเจริญเติบโตเร็ว-ปานกลาง มีอายุ
                       การเก็บเกี่ยว 11 - 12 เดือน (พันธุ์กลาง) และ 3. ปลูกอ้อยข้ามแล้ง (พฤศจิกายน-ธันวาคม) ควรเลือก
                       พันธุ์ที่มีการเจริญเติบโตทางล าต้นในช่วง 4 เดือนแรกช้า แต่มีการพัฒนาระบบรากที่ดี เพราะในช่วงฤดู

                       แล้งดินมักมีความชื นน้อย หากเลือกใช้พันธุ์ที่มีการเจริญเติบโตทางล าต้นในช่วงแรกเร็ว พืชจะต้องการน  า
                       และธาตุอาหารมาก พืชมีโอกาสได้รับน  าและธาตุอาหารในช่วง 4 เดือนแรกไม่เพียงพอ จะชะงักการ
                       เจริญเติบโต ควรเป็นพันธุ์ที่มีอายุการเก็บเกี่ยว 13 - 15 เดือน (พันธุ์หนัก)
                                        การเปลี่ยนแปลงด้านชีพลักษณ์ของอ้อย ตั งแต่ปลูกด้วยท่อนพันธุ์จนกระทั่งเก็บเกี่ยว

                       อ้อยมีการเจริญเติบโตตามล าดับ สามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ระยะ (ยงยุทธ, 2556; มูลนิธิโครงการ
                       สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชนฯ, มปป.) ดังแสดงในภาพที่ 5 โดยมีรายละเอียดดังนี
                                        ๑) ระยะงอก (germination phase) ระยะนี เริ่มตั งแต่ปลูกจนกระทั่งหน่อโผล่พันดิน

                       ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ ๒-๓ สัปดาห์ ทั งนี ขึ นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น พันธุ์ การปฏิบัติต่อท่อนพันธุ์
                       และความหนาของดินที่กลบท่อนพันธุ์ เป็นต้น หน่อที่เกิดจากตาของท่อนพันธุ์ เรียกว่า หน่อแรก
                       (primary shoot) หรือหน่อแม่ (mother shoot) จ านวนท่อนพันธุ์ที่งอกต่อไร่จะเป็นตัวก าหนดจ านวน
                       กออ้อยในพื นที่นั น
                                        ๒) ระยะแตกกอ (tillering phase) ในระยะงอกนั นอ้อยแต่ละตาจะงอกขึ นมาเพียง

                       ต้นเดียวเท่านั น และเมื่อเติบโตพอสมควรจึงจะมีการแตกกอ การแตกกอเป็นลักษณะส าคัญของพืชตระกูล
                       หญ้ารวมทั งอ้อย เกิดขึ นเนื่องจาก ตาที่อยู่ส่วนโคนของล าต้นใต้ดินของหน่อแรก เจริญออกมาเป็นหน่อชุด
                       ที่สอง และจากหน่อชุดที่สองก็เจริญเป็นหน่อชุดที่สาม หรืออาจจะมีหน่อชุดต่อไปอีก ท าให้มีจ านวนหน่อ

                       หรือล าต้นเพิ่มขึ น ในระยะนี อิทธิพลของยอดย่อมมีน้อยมาก จึงไม่สามารถยับยั งการเจริญเติบโตของตาที่
                       อยู่ส่วนโคนได้ ระยะแตกกอเป็นระยะต่อเนื่องกับระยะงอก การแตกกอจะเริ่มเมื่ออายุประมาณ ๑.๕
                       เดือนเป็นต้นไป แต่ระยะที่มีการแตกกอมากที่สุดอยู่ระหว่าง ๒.๕-๔ เดือน ซึ่งก็ขึ นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง
                       ตามที่กล่าวแล้ว หน่อที่แตกออกมาทั งหมดในระยะแตกกอนี  จะเหลือเพียงประมาณครึ่งหนึ่ง เมื่อถึงเวลา

                       เก็บเกี่ยว หน่อที่อ่อนแอกว่าจะตายไป เพราะการแข่งขันกัน เพื่อปัจจัยในการเจริญเติบโต เช่น แสงแดด
                       น  า และธาตุอาหาร เป็นต้น จ านวนล าต้นต่อกอขณะเก็บเกี่ยว ขึ นอยู่กับจ านวนหน่อในระยะแตกกอนี
                                        ๓) ระยะย่างปล้อง (stalk elongation phase) เป็นระยะต่อเนื่องกับการแตกกอ
                       ระยะนี จะมีการเพิ่มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความยาวของปล้องอย่างรวดเร็ว ท าให้อ้อยทั งล าต้น

                       เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วด้วย ซึ่งจะเริ่มตั งแต่อายุประมาณ ๓-๔ เดือน จนถึงอายุประมาณ ๗-๘ เดือน
                       หลังจากนั นการเจริญเติบโตจะมีน้อยลง และจะเริ่มมีการสะสมน  าตาลเพิ่มขึ น ขนาดและความยาวของแต่
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44