Page 35 - การใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลเพื่อศึกษารูปแบบการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ
P. 35
24
ได้แก่พืชที่ต้องการน าปริมาณมาก ได้แก่ ข้าว ผักกระเฉด และบัวพืชที่ต้องการน าปริมาณปานกลาง เป็น
พืชที่ขึ นได้ดีในที่ดอนทั่วไป มีทั งพืชไร่ พืชสวน เช่น แตงกวาถั่วเหลือง ข้าวโพด ส้ม มะม่วง พืชที่ต้องการ
น าปริมาณน้อย เป็นพืชที่ทนความแห้งแล้งได้ดีเหมาะที่จะปลูกในที่ที่ปริมาณฝนตกน้อยหรือในที่ที่เป็นดิน
ร่วนปนทรายซึ่งอุ้มน าได้ไม่ดี เช่น มันส าปะหลัง กระบองเพชร
2.5) ดิน พืชส่วนใหญ่มักเจริญเติบโตได้ดีในดินที่มีความร่วนซุย มีปริมาณน า อากาศ และ
ธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชอย่างเพียงพอส่วนประกอบของดินที่มีคุณภาพดีและให้ผลผลิตสูงควรที่
จะมีส่วนประกอบตามสัดส่วนดังนี แร่ธาตุร้อยละ 45อินทรียวัตถุร้อยละ 5อากาศร้อยละ 25น าร้อยละ 25
ลักษณะเนื อดินที่ใช้ในการเพาะปลูกแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ ดินเหนียว คือ ดินที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของอนุภาคดินเล็กที่สุด เล็กกว่า 0.002 มิลลิเมตร เป็นดินที่มีการจับตัวกันอย่างหนาแน่น มีช่องว่าง
ระหว่างเม็ดดินน้อย ดินเหนียวจึงมีประสิทธิภาพในการอุ้มน าไว้ได้ดีที่สุด ดินร่วน คือ ดินที่มี
เส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคดินตั งแต่ 0.002- 0.05 มิลลิเมตร ดินชนิดนี มีช่องว่างระหว่างเม็ดดินมาก น า
และอากาศผ่านได้ง่าย อุ้มน าได้น้อยกว่าดินเหนียว ดินทราย คือ ดินที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคดิน
ตั งแต่ 0.05-2.0 มิลลิเมตร ลักษณะเนื อดินหยาบ เม็ดดินไม่เกาะตัวกัน มีช่องว่างในดินมาก ระบายน าได้ดี
ด้วยเหตุนี ดินทรายจึงเป็นดินที่ไม่สามารถเก็บกักน าไว้ได้ความเป็นกรด-ด่างที่เหมาะสมส าหรับการ
เจริญเติบโตของพืชส่วนมากอยู่ในช่วง ประมาณ 5.5 - 7.0 โดยทั่วไปหากดินไม่เหมาะสมแก่การปลูกพืช
จะต้องแก้ไขปรับปรุงดิน
2.6) ธาตุอาหาร (mineral หรือ nutrient) พืชมีความต้องการธาตุอาหารเพื่อใช้ในการ
เจริญเติบโตธาตุอาหารที่พืชต้องการในการเจริญเติบโตมี 16 ธาตุ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตาม ปริมาณที่พืช
ต้องการ ได้แก่ ธาตุอาหารหลัก (macronutrients) ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K)
เนื่องจาก 3 ธาตุนี พืชใช้มากแต่มักจะได้รับจากดินไม่ค่อยเพียงพอกับความต้องการ ต้องใส่ปุ๋ยอยู่เสมอธาตุ
อาหารรอง ได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และก ามะถัน (S) เป็นกลุ่มที่พืชต้องการในปริมาณที่
น้อยกว่า และไม่ค่อยมีปัญหาขาดแคลนในดิน ธาตุอาหารรอง (micronutrients) เป็นธาตุอาหารที่พืช
ต้องการใช้เป็นปริมาณน้อย มีอยู่ 7 ธาตุ ได้แก่ เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) โบรอน (B) โมลิบดินัม (Mo)
ทองแดง (Cu)สังกะสี (Zn) และคลอรีน (Cl) ธาตุอาหารแต่ละชนิดมี ความส าคัญและจ าเป็นต่อการ
เจริญเติบโตของพืชไม่น้อยไปกว่ากัน ต่างกันแต่เพียงปริมาณที่พืชต้องการเท่านั น ดังนั นพืชจึงขาดธาตุใด
ธาตุหนึ่งไม่ได้หากพืชขาดธาตุอาหารแม้แต่เพียงธาตุเดียว พืชจะหยุดการเจริญเติบโต แคระแกร็น ไม่ให้
ผลผลิตและตายในที่สุด
3.1.2 ชีพลักษณ์ของพืช
ชีพลักษณ์ (phenology) เป็นการศึกษาขั นตอนที่เกิดขึ นประจ าของพืชและสัตว์ ที่เกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาของเหตุการณ์ตามฤดูกาล เช่น การแตกหน่อ การออกดอก การพักตัว การ
อพยพ การจ าศีล และการแก่ชรา และความสัมพันธ์กับปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงของชีพ
ลักษณ์เชื่อมโยงกับฤดูปลูกและส่งผลต่อการท างานของระบบนิเวศและผลผลิต ได้รับผลกระทบทั ง
เกษตรกรรม ป่าไม้ และสวน รวมทั งสัตว์ป่า เวลาของการไถพรวน การหว่าน และการเก็บเกี่ยวมีการ