Page 19 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 19
- 7 -
เป็นพื้นที่ คทช. และอนุญาตเข้าอยู่อาศัยและทำกิน ในปี พ.ศ. 2559 จนสิ้นสุดการอนุญาต ในปี พ.ศ.
2589 รวมกรอบเวลา 60 ปี ภาพรวมกรอบแนวคิดและกรอบเวลา แสดงดังรูปที่ 1.1
อดีต สถานภาพ: เป็นป่าสงวน พ.ศ. 2529
ปัจจุบัน สถานภาพ: เป็นพื้นที่จัดสรร คทช. พ.ศ. 2559
อนาคต อนุญาตให้เข้าอยู่อาศัยและใช้ประโยชน์ พ.ศ. 2589
้
ิ
ี
่
ื
ิ
่
่
้
ิ
๊
ั
ี
ู
1.7.7 การประเมนทศทางและแนวโนมการปลดปลอย / ดดซบกาซเรอนกระจกจากการเปลยนแปลงการใชทดน
ภายใตสมมติฐาน ต่อไปน
ี้
้
1) ให้ถือว่าพื้นที่ศึกษาป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหมู ท้องที่ตำบลอุ่มเหม้า อำเภอธาตุพนม
จังหวัดนครพนม มีเนื้อที่ 1,525 ไร่ และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน เป็นไปตามผลการแปลภาพถ่ายดิจิทัล
ข้อมูลการใช้ที่ดิน ภายใต้กรอบเวลาการศึกษา 60 ปี ตั้งแต่การประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
พ.ศ. 2529 การอนุญาตให้เกษตรกรเข้าอยู่อาศัยและทำกิน ตามหนังสือกรมป่าไม้ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม
พ.ศ. 2559 จนถึงปีสิ้นสุดการอนุญาต พ.ศ. 2589
2) การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินไม่ว่ารูปแบบใด มีเป้าหมาย 3 ประการ ดังนี้
เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตและรายได้ดีขึ้น (จากพืชเศรษฐกิจ และไม้เศรษฐกิจ)
ทรัพยากรดินและที่ดินมีสมบัติและสมรรถนะเหมาะสม เป็นฐานการเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน
การพัฒนาตลาดคาร์บอนระดับชุมชน เพื่อส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด พื้นที่
จัดสรร คทช.
ิ
ื
้
ื
1.7.8 การกำหนดภาพอนาคตเพอเปนทางเลอกเชงนโยบายดานการปลดปลอยกาซเรอนกระจก (Scenarios
็
ื
่
่
๊
Development and Analysis) โดยสมมติฐาน 2 กรณ ี
่
1) กรณไมมีนโยบาย เป็นการดำเนินกิจกรรมตามปกติ (Business As Usual: BAU)
ี
ั
ิ
ี
ิ
์
ิ
็
2) กรณีมีนโยบาย เปนการดำเนนกจกรรมภายใตขอกำหนด กฎเกณฑ ระเบยบปฏบต และมาตรการ
ิ
้
้
ตัวอย่างเช่น
การสร้างมูลค่าไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ เป็นแรงจูงใจปลูกไม้ในพื้นที่จัดสรร คทช.
ื้
การกำหนดเขตการใช้ที่ดิน เพื่อให้การใช้ประโยชน์ที่ดินพนที่ คทช. เป็นไปอย่างเหมาะสม
ตรงตามสมรรถนะ
การส่งเสริมระบบวนเกษตรในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ที่นำมาจัดสรรที่ดิน คทช.