Page 17 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 17
- 5 -
ื
่
ั
็
้
2) การสำรวจพนทเพอเกบตวอยางดนในภาคสนาม ตามรายแปลง คทช. จำนวน 15 จด รวม 30 ตวอยาง
ื
่
ี
่
ุ
ั
่
ิ
ุ
ึ
โดยวิธีสุ่มจากจดเกบในพนทศกษา ตามหลักวิชาการ
ื้
็
ี่
ิ
1.4.4 กำรประเมนควำมเหมำะสมที่ดินส ำหรับพืชเศรษฐกิจ (Land Suitability) และไมเศรษฐกิจ
้
(Economic Trees) ในพื้นที่ศึกษำ
1) การรวบรวมและศึกษาข้อมูล จากการสำรวจทัศนคติเกษตรกรด้านการใช้ที่ดิน และศึกษา
์
ิ
้
ี่
ข้อมูลไม้ดั้งเดิมพื้นทศึกษา และการศึกษาวเคราะหขอมูลสภาพการใช้ที่ดิน
ี่
ิ
ิ
ื่
์
ั
2) การวิเคราะหเพอประเมินสมบัตและสมรรถนะทดนตามหลกการ FAO Framework 1983
1.4.5 กำรประเมนศักยภำพกำรดูดซับคำร์บอนบนดินตำมแนวทำง IPCC 2006 และคำร์บอนใต้ดิน
ิ
จำกผลกำรวิเครำะห์ห้องปฏิบัติกำร
้
1) การรวบรวมและศึกษาขอมูลการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และประมวลผลการวิเคราะห์ข้อมูล
้
ี
ิ
จากแบบสำรวจทศนคตเกษตรกรดานการใชท่ดน และประเมินผลร่วมกับผลการวิเคราะห์ปริมาณอินทรีย์
้
ิ
ั
คาร์บอนในชั้นดินบน (ที่ระดับ 15–20 เซนติเมตร)
2) การประเมินทิศทางและแนวโน้มการปลดปล่อย / ดูดซับก๊าซเรือนกระจกจากการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ระหว่างปี พ.ศ. 2565–2589 ภายใต้ปีฐานของข้อมูลจากผลการศึกษาปี พ.ศ.
2525–2564 และสมมติฐานที่กำหนด (ตามข้อ 1.7.7)
1.4.6 กำรส ำรวจภำคสนำมเพื่อตรวจสอบควำมถูกต้องข้อมูลระดับพื้นที่ (วันที่ 21–22 เมษำยน 2565)
1) การศึกษาสำรวจพื้นที่เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ดิน การถือครอง และขอบเขต
แปลงที่ดินจัดสรร โดยใช้เครื่องตรวจวัดพิกัดตำแหน่งของพื้นที่ด้วยสัญญาณจากดาวเทียม (GPS) แผนที่
สภาพการใช้ที่ดิน และแผนที่แสดงขอบเขตแปลงจัดสรร คทช. ประกอบด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล (MRV
System) เพื่อตรวจสอบความซ้ำซ้อนของข้อมูลที่จัดเก็บ
1.5 ระยะเวลำด ำเนินกำร
การดำเนินงาน 2 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 ตั้งแต่เดือนมกราคม–เมษายน 2565 ทบทวนเอกสาร ประสานหน่วยงาน เก็บข้อมูล
ระยะที่ 2 ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม–ธันวาคม 2565 รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินผล
จัดทำรายงาน และสรุปผล
รายงานเสร็จสมบูรณ์ เดือนมกราคม 2566
1.6 ผู้ร่วมด ำเนินกำร
1) นางสาววรนุช เอมมาโนชญ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
1.7 กรอบแนวคิดและขั้นตอนกำรด ำเนินงำน
1.7.1 การศึกษานี้ ตั้งอยู่บนฐานความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมและความต้องการของมนุษย์
ซึ่งแปรเปลี่ยนตามกาลเวลาต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน และส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน