Page 13 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 13
- 1 -
บทที่ 1
บทน ำ
1.1 หลักกำรและเหตุผล
ดินและที่ดิน (Soil and Land) เป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่ใช้ได้หมุนเวียนไม่สิ้นสุด (Renewable
Natural Resources) มีความสัมพันธ์กับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ได้แก่ ป่าไม้ น้ำ อากาศ และสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรดินและที่ดินจึงมีบทบาทสำคัญในการเป็นแหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยรองรับสรรพชีวิตในระบบนิเวศ
ความเชื่อมโยงระหว่างดินและที่ดินกับทรัพยากรต่าง ๆ ในลักษณะที่เกื้อกูลต่อกัน จะส่งเสริมการเพิ่มพูน
ิ
ความอุดมสมบูรณ์ของความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) และความยั่งยืนการให้บริการทางนเวศ
(Ecosystem Services)
ทรัพยากรดินและที่ดิน นอกจากเป็นแหล่งผลิตอาหาร ผลผลิตจากไม้ และพลังงาน แล้วยังมีความสำคัญ
ั
ิ
ู
็
ู่
ั
ิ
ิ
ต่อระบบภมอากาศโลก เชื่อมโยงกบบรการทางนเวศ พัฒนาการทางสงคม วัฒนธรรม และความเปนอยของมนุษย์
่
ี
ดินและที่ดินจึงมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับวิถีชีวิตมนุษย์ เมื่อพิจารณาในบริบทด้านการเปลยนแปลงสภาพ
้
ิ
๊
่
ื
้
ภูมิอากาศ พบว่าที่ดนสามารถเป็นไดทงแหล่งปลดปลอยกาซเรอนกระจก (Source of GHGs) และแหล่งกกเก็บ
ั
ั
ก๊าซเรือนกระจก (Sink of GHGs) ซึ่งเป็นกลไกธรรมชาติในการแลกเปลี่ยนพลังงาน น้ำ และอนุภาค
ของอากาศ ระหว่างพื้นผิวดินกับบรรยากาศ ระบบนิเวศที่ดินและความหลากหลายทางชีวภาพ จึงมีความ
เปราะบางต่อสถานการณ์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) สภาพอากาศ (Weather)
และความรุนแรงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Extreme) ในระดับแตกต่างกัน หลักการจัดการดินและ
ที่ดินอย่างยั่งยืน (Sustainable Soil and Land Management: SLM) จึงได้รับการพัฒนาเป็นกรอบแนวทาง
ดำเนินการบรรเทาผลกระทบเชิงลบจากภาวะกดดันต่อการใช้ทรัพยากรดินและที่ดิน ในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึง
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่มีต่อความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ และสังคมมนุษย์
้
่
่
ู
ิ
่
ื
ู
่
ี
้
่
ี
ิ
ิ
ึ
้
่
่
่
การเพมขนของจำนวนประชากรของประเทศ สงผลใหความตองการทดนมอยสงอยางตอเนอง เกดการแกงแยง
่
ิ
ี
ี
ิ
ิ
่
่
ิ
ั
่
่
ู
่
ิ
ิ
ทดนทำกนและอยอาศยอยางผดกฎหมาย การแข่งขันทางธุรกิจทำให้ภาคเอกชนมีอทธพลตอการครอบครองทดน
่
ี
่
เพ่อการขยายธุรกิจมากกว่าสิทธิการครอบครองที่ดินเพื่ออยู่อาศัยของราษฎรและชมชน การจดสรรทดนเพอการ
ิ
ุ
ั
ื
ื
ี่
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และทอยอาศย อยู่ในภาวะเสยสมดุล เกิดช่องว่างและความเหลื่อมล้ำของสังคม การใช้
ู่
ี
ั
ประโยชน์จากทรัพยากรดินและที่ดินในปัจจุบันเป็นไปในลักษณะที่ขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดการจัดการที่ดี
ทำให้เกิดความเสื่อมโทรมทั้งต่อทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ ต่อระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อม
ส่งผลให้ทรัพยากรดินและที่ดินเสื่อมโทรมทั้งระบบ เร่งรัดความรุนแรงและการเกิดภัยพิบัติธรรมชาติรูปแบบ
ต่าง ๆ ตลอดจนการแพร่กระจายของสารพิษ ซึ่งส่งผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพระดับวิกฤตและ
ความตกต่ำคุณภาพชีวิตของมนุษย์ในที่สุด