Page 14 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 14

- 2 -


                      ผลการศึกษาเชิงประจักษ์ซึ่งดำเนินการโดยคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลด้านการเปลี่ยนแปลง

                 สภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change : IPCC) ได้ยืนยันความสัมพันธ์

                 ของข้อมูลจำนวนประชากรโลก ในปี พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) กับสัดส่วนความเปลี่ยนแปลงการบริโภค

                 ต่อหัวประชากร (Per Capita Consumption) สำหรับความต้องการอาหาร (Food) ผลผลิตจากไม้ (Timber)
                 และพลังงาน (Energy) ซึ่งเป็นตัวแปรที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและน้ำใช้ใน

                 สัดส่วนที่ไม่สามารถประเมินได้ กล่าวคือเมื่อจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ความต้องการอาหารและที่อยู่อาศัย

                                                                                         ้
                                                                             ื่
                 เพื่อการอุปโภคและบริโภคจะสูงขึ้น การเพิ่มผลผลิตจากปาและการเกษตรเพอรองรับความตองการของประชากร จึง
                                                               ่
                                                                ื
                                  ่
                            ่
                              ื้
                                 ี่
                                                                                    ้
                                                                                          ่
                                                                                                          ิ
                                                                        ิ่
                                                                   ี
                                                                     ่
                                                                     ื
                 ส่งผลกระทบตอพนทปาและเกษตรกรรม ความต้องการขยายพ้นท่เพอเพมผลิตภาพการคาจากปาและการเกษตรจะเพ่ม
                                                                                          ึ
                              ้
                                                       ุ
                       ่
                         ่
                 สงขน ซงสงผลใหการปลดปล่อยกาซเรอนกระจกสทธ (Net GHG Emissions) มปรมาณเพมสงขน ในขณะทการสญเสย
                                                                                     ่
                                           ๊
                                              ื
                                                                                     ิ
                                                                                        ู
                       ึ
                                                                                                   ่
                                                                                                   ี
                                                                             ี
                                                                                                          ี
                                                                                                       ู
                                                                                ิ
                    ้
                                                                                          ้
                    ึ
                                                          ิ
                  ู
                 ระบบนิเวศธรรมชาติ และการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ (Loss of Natural Ecosystems and
                 Biodiversity)  มีสัดส่วนสูงขึ้น โดยสภาพการณ์ดังกล่าวยังคงดำเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่อง
                           1
                      สถานการณ์ความร่วมมือระหว่างประเทศ จากการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ
                 เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 26 (COP26) เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ณ เมืองกลาสโกว์
                 สหราชอาณาจักร เกิดข้อตกลงด้านป่าไม้และการใช้ที่ดิน ชื่อว่า “ปฏิญญากลาสโกว์ของผู้นำด้านป่าไม้
                 และการใช้ประโยชนท่ดน (Glasgow Leaders’ Declaration on Forests and Land Use)” มวตถประสงค์
                                                                                                    ุ
                                  ์
                                    ี
                                                                                                 ี
                                                                                                  ั
                                     ิ
                 เพื่อร่วมแสดงเจตนารมณ์ทางการเมืองในการเน้นย้ำความสำคัญของการจัดการป่าไม้ ความหลากหลาย
                 ทางชีวภาพ และการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน ความมุ่งมั่นในการดำเนินการเพื่อหยุดยั้งการสูญเสีย
                 พื้นที่ป่าและความเสื่อมโทรมของที่ดิน การเปลี่ยนผ่านสู่การใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างยั่งยืน และเชื่อมโยง
                 การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ภายในปี ค.ศ. 2030 (SDGs 2030) โดยไม่มีข้อผูกพันภายใต้ข้อบังคับ
                 ของกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีในการประชุม เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2565 มีมติไม่ขัดข้อง
                 ต่อการเข้าร่วมปฏิญญากลาสโกว์ของผู้นำด้านป่าไม้และการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Glasgow Leaders’
                 Declaration on Forests and Land Use) ของประเทศไทย ซึ่งเป็นการแสดงถึงการมีส่วนร่วมหยุดยั้ง
                 การสูญเสียป่าไม้และความเสื่อมโทรมของที่ดิน สร้างความสมดุลระหว่างการปล่อยและการดูดกลับ
                                                                 2
                 ก๊าซเรือนกระจก และรักษาไว้ซึ่งการบริการของระบบนิเวศ
                      ประเทศไทยเป็นหนึ่งในหลายประเทศที่เผชิญกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในการ
                 ประชุม COP26 ผู้นำระดับโลกต่างให้คำมั่นที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและภาวะโลกร้อน ในส่วนของ
                 ประเทศไทย ได้ประกาศเป้าหมายสำคัญคือประเทศไทยจะเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality)
                    ี
                                                             ุ
                                                                ิ
                 ในป ค.ศ. 2050 (พ.ศ. 2593) และปลอยกาซเรอนกระจกสทธเปนศนย (Net Zero) ภายในป ค.ศ. 2065 (พ.ศ. 2608)
                                             ่
                                                                    ู
                                                                                       ี
                                                ๊
                                                                 ็
                                                                      ์
                                                    ื

                 1  IPCC (2019) Climate Change and Land
                 2  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (2565)
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19