Page 15 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 15
- 3 -
ั
้
ู
ี
ั
้
ี
ี
ิ
่
ิ
นอกจากน้ ไดมการนำเสนอแนวทางการแกปญหาการเปล่ยนแปลงสภาพภมอากาศในระดบชาต ภาคสวน และ
ระดับเทศบาล ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560–
2579) และแผนแม่บทการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (พ.ศ. 2555–2593) ซึ่งเน้นเรื่องการเติบโตสี
เขียว และ ก ารส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อเป็นกรอบนโยบายและแผนปฏิบัติการแบบบูรณาการ ที่เกี่ยวข้อง
กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งคาดว่าหากประเทศไทยดำเนินการตามแผนแม่บทและกรอบนโยบาย
ดังกล่าวทั้งหมด จะสามารถปรับปรุงเป้าหมายเริ่มต้นในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 20
เนื่องจากประเทศสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงได้ร้อยละ 30 โดยมีเป้าหมายให้ถึงร้อยละ 40
ในปี พ.ศ. 2573 ตามกรอบเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs 2030)
รายงาน “การศกษาการประเมนแนวโนมและทศทางการปลดปลอยกาซเรอนกระจกจากการเปลยนแปลงการ
ี่
่
ื
๊
ิ
ิ
ึ
้
ใช้ที่ดิน (Land Use Change and Climate Change): กรณีศึกษาพื้นที่จัดสรรที่ดินทำกินตามนโยบาย คทช.
ู
ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหม ท้องที่ตำบลอุ่มเหม้า อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม” ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาวิเคราะห์
และประเมินปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรอนกระจก (GHG Emissions) จากการเปลยนแปลงการใชทดน (Land
้
ิ
ี่
ี่
ื
่
้
ั
ี
ิ
Use Change) พนทจดสรรทดนทำกนภายใตกรอบคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ประกอบการ
ิ
่
้
ื
ี
กำหนดแนวทางขับเคลื่อนนโยบาย คทช. และรองรับข้อตกลงด้านป่าไม้และการใช้ที่ดิน ชื่อว่า “ปฏิญญากลาส
โกว์ของผู้นำด้านป่าไม้และการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Glasgow Leaders’ Declaration on Forests and Land
่
ิ
่
่
้
ื
่
Use)” ในบรบทกรมพฒนาทดน โดยนำรองในพนทปาสงวนแหงชาต ปาดงหม ทองทตำบล อุ่มเหม้า อำเภอธาตุ
ิ
ี
ี
ิ
ี
้
่
ั
่
่
ู
พนม จังหวัดนครพนม เนื้อที่ 1,524 ไร่ 1 งาน 92 ตารางวา ซึ่งได้จดสรรเป็นทดนทำกนแก่ราษฎร / เกษตรกรผ ู้
ั
ิ
ี่
ิ
ิ
ี่
ได้รับการจัดทดน 198 ราย จำนวน 210 แปลง เนื้อที่ 1,408 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา ตามขั้นตอนและกระบวนการ คทช.
เสร็จสิ้นแล้ว
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อศึกษารูปแบบและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่ศึกษา คทช.
ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหมู จังหวัดนครพนม
ู
ั
ื้
้
ิ
1.2.2 เพื่อประเมนศกยภาพการดูดซบ / การกักเกบก๊าซเรอนกระจกในรปคาร์บอน จากที่ดินพนทป่าไม และ
ี่
็
ื
ั
พื้นที่เกษตรกรรมสำหรับพืชเศรษฐกิจหลัก 5 ชนิด ที่เกษตรกรปลูกในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ มันสำปะหลัง ข้าว
อ้อย ยางพารา และปาล์มน้ำมัน ตามหลักการ LULUCF ของแนวทาง IPCC 2006
ี
ื
่
ิ
ั
ั
่
่
1.2.3 เพอจดทำแผนทแสดงปรมาณการปลดปลอยกาซเรอนกระจก จากการใชทดนสำหรบพชเศรษฐกิจ
ื
ี
๊
ื
้
่
ิ
แต่ละชนิด ตามระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เป็นเครื่องมือตัดสินใจ
เชิงนโยบายและการวางแผนการใช้ที่ดิน
ื
1.2.4 เพ่อเสนอแนะแนวทางการวางแผนการใช้ที่ดินเชิงบูรณาการ ระหว่างปัจจัยด้านการเปลี่ยนแปลง
การใช้ที่ดินกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในกระบวนการจัดทำแผนการใช้ที่ดินพื้นที่จัดสรร คทช.