Page 100 - รายงานการศึกษาการประเมินแนวโน้มและทิศทางการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
P. 100

- 60 -


               ตารางที่ 5.6: ภาพอนาคตทิศทางและแนวโน้มการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการเปลี่ยนแปลง

                       การใช้ที่ดินพื้นที่จัดสรร คทช. ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าดงหมู ท้องที่ตำบลอุ่มเหม้า อำเภอธาตุพนม
                       จังหวัดนครพนม

                    ภาพอนาคต       ปัจจัย / ตัวแปร         สถานการณ์                แนวโน้มการปลดปล่อย
                    (Scenario)      (Variables)            (Storylines)             (Emission Pattern)

                 1. BAU (ก่อนการ   1.1 พื้นที่ป่า   มีการบุกรุกเข้าครอบครองพื้นที่ป่าเพื่อจับจอง การสูญเสียคาร์บอนในดินและป่า
                 ประกาศป่าสงวนแห่งชาติ           เป็นที่อยู่อาศัยและทำการเกษตร   ปลดปล่อยสู่บรรยากาศ เพิ่มปริมาณ
                 และนโยบาย คทช.)                                                ก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศ
                                   1.2 สภาพ      เกษตรกรทำการเกษตรดั้งเดิมซึ่งให้ผลผลิตต่ำ  กิจกรรมทางการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิต
                                   เศรษฐกิจ / สังคม   จึงเพิ่มผลผลิตโดยการเพิ่มพื้นที่เกษตรใน และสร้างรายได้ เป็นกระบวนการ
                                                 รูปแบบทำไร่เลื่อนลอย พึ่งพาปุ๋ยและสารเคมี เร่งรัดให้ป่าและดินเสื่อมโทรม
                                                 ทางการเกษตร

                 2. Mitigation Policy   2.1 พื้นที่ป่า   มีการจัดระเบียบการเข้าใช้พื้นที่อย่างเป็น บรรเทาการสูญเสียป่าและความเสื่อม
                 (การจัดสรรที่ดินทำกิน           ระบบ ลดการสูญเสียป่า ฟื้นฟูสภาพดิน และ โทรมของดินในอัตราที่ช้าลง มีการปลูก
                 ตามนโยบาย คทช.)                 ความหลากหลายทางชีวภาพแก่ป่าและดิน   ไม้เพิ่มตามข้อกำหนดการใช้ที่ดินและ
                                                                                เสื่อมโทรมน้อยลง
                                   2.2 สภาพ      ส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ในการจัดการ เกษตรกรได้รับความรู้มีความเข้าใจ
                                   เศรษฐกิจ / สังคม   ทรัพยากรป่า ดิน และที่ดิน การใช้ที่ดินในพื้นที่ ผสมผสานเข้ากับภูมิปัญญาสามารถ
                                                 ป่าเป็นไปอย่างสอดคล้องเหมาะสมตาม บูรณาการสร้างรายได้และอยู่อาศัยใน
                                                 สมรรถนะ                        พื้นที่จัดสรรอย่างยั่งยืน
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105