Page 17 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
P. 17

2-5





                                                                                                      ึ
                      ฤดูรอน เริ่มเมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลง คือประมาณกลางเดือนกุมภาพันธถง
                  กลางเดือนพฤษภาคม ในระยะนี้จะมีหยอมความกดอากาศต่ำ เนื่องจากความรอนปกคลุมประเทศไทย
                                       ี่
                                                                                                    ั่
                  ตอนบน ประกอบกับลมทพัดปกคลุมประเทศไทยในชวงนี้เปนลมฝายใต ทำใหมีอากาศรอนอบอาวทวไป
                                                                                                
                  โดยมีอากาศรอนจัดอยูในเดือนเมษายน
                      ฤดูฝน เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม ซึ่งเปนชวงที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต 
                  พัดปกคลุมประเทศไทย รองความกดอากาศต่ำที่พาดผานบริเวณภาคใตของประเทศไทยจะเลื่อนขึ้นมา
                  พาดผาน บริเวณภาคกลาง และภาคเหนือเปนลำดับในระยะนี้ทำใหมีฝนตกชุกขึ้นตั้งแตกลางเดือน
                                                           ี่
                  พฤษภาคมเปนตนไปโดยเดือนกันยายนเปนเดือนทมีฝนตกชุกที่สุดในรอบปและเปนชวงที่มความชื้นสูง
                                                                                            ี
                                  
                  2.6  ทรัพยากรปาไม  
                        จังหวัดปทุมธานี มีพื้นที่ 1,525.856 ไร พบวาไมมีพื้นที่ปาไมสงวนแหงชาติและพื้นทีปา อนุรักษ  
                                                                                              ่
                  ดังนั้น จึงเปนผลทำใหพื้นที่สีเขียวเกษตรกรรม หรือสีเขียวที่โลงเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพ
                  สิ่งแวดลอมของเมืองมีจำนวนนอยหรือแทบจะไมมีซึ่งสงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชน

                  เนื่องจากพื้นที่มีจำกัด และสวนใหญ ถูกนำไปใชเปนที่อยูอาศัย ทำการเกษตรและสรางโรงงาน
                                                                                               
                  อุตสาหกรรม เปนตน ในพื้นที่ของจังหวัดปทุมธานีเปนที่ลุมน้ำทวมถึงในฤดูน้ำลาก บริเวณทงรังสิตใน
                                                                                               ุ
                  อดีตพื้นที่สวนใหญเปนปาละเมาะ สลับหนองน้ำและทุงนามีตนไมอยูหลายชนิด โดยมีไมสะแกเปนไม 
                  ใหญในปาสลับดวยตนคาง ตนกระทุม ตนสะเดา ตนหมากเมา ตนกุม ตนตะโก ตนตะขบ ตนไผปา ฯลฯ
                  สำหรับไมเถามีไมจำพวกมันนก เถาวัลย ตนเชือกเขา ไมพุม เชน ตนเล็บเหยี่ยว ตนหนามแดง ตน
                                                                                                      
                  ชำมะเลียง ฯลฯ ไมหัวไมดอก เชน ตนพลับพลึง ตนตะขาบ ตนหนามสามสิบ นอกจากนี้ยังมีไมเศรษฐกจ
                                                                                                      ิ
                  คือ ตนตาล มีอยูมากในเขตอำเภอเมืองปทุมธานี และอำเภอสามโคก ไมใหญอีกชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ  

                                                              
                  และอายุยืนคือ ตนยาง ปจจุบันยังมีเหลืออยูตามวัดตาง ๆ ที่ตั้งอยูริมฝงแมน้ำเจาพระยา เชน วัดเทียน
                  ถวาย วัดโบสถ วัดมะขาม วัดสำแล วัดตำหนัก วัดชัยสิทธาวาส วัดเชิงทา บางวัดมีตนตะเคียน อายุนับ

                  รอยป เชน วัดสวนมะมวง บริเวณทุงรังสิตในอดีตยังเคยเปนที่อยูของโขลงชาง กวาง และสมัน สัตวปา
                  ของจังหวัดปทุมธานี ที่อาศัยอยูตามปาละเมาะเชน กระรอก เสือปลา ตัวนิ่ม งูเหลือม งูเหา ตะกวด
                  กิ้งกา หนู จำพวกนกไดแก นกตะขาบ นกเอี้ยง นกกิ้งโครง นกเขา นกกระแวน นกกางเขน นกกินปลา

                                                                                               
                  นกหัวขวาน นกกระปูด นกกวัก นกอีดำอีแดง นกอีลุม นกปากหาง เปนตน นกบางชนิดอยูกันเปนฝูง
                  บางชนิดอยูกันเปนคู เชน นกสาริกา นกบางชนิดสงเสียงบอกสภาพดินฟาอากาศได เชน นกกวัก นกกระ

                  ปูด จะสงเสียงรองดังติดตอกันนาน บอกเปนสัญญาณวาน้ำจะขึ้น นกดุเหวารองบอกเวลาวาใกลสวาง
                  (ใกลรุง) แลวนกบางชนิด เชน เหยี่ยวแดง เหยี่ยวรุง ไลลาหนูเปนอาหาร ทำใหหนูมีไมมากเกินไป นก

                  แรงชวยขจัดซากสัตวที่ตายแลว นกปากหางที่วัดไผลอมที่มารวมตัวอยูกันเปนจำนวนมาก มีสวนชวย
                  ชาวนาจับหอยเชอรี่ที่เปนอันตรายตอพืช มากินเปนอาหาร

                  2.7  ทรัพยากรแร


                      พื้นที่จังหวัดปทุมธานีพบทรัพยากรแรเพียงชนิดเดียว คือ ทรายกอสราง และดินเหนียว
                      2.7.1 กลุมแรเพื่อพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22