Page 13 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
P. 13

่
                                                         บทที 2

                                                      ขอมูลพื้นฐาน
                  2.1  ประวัติความเปนมา
                                     
                      2.1.1 ตราสัญลักษณ คำขวญ
                                               ั















                                                                
                                           รูปที่ 2-1  ตราสัญลักษณจังหวัดปทุมธานี

                              ตราสัญลักษณจังหวัดปทมธานี รูปวงกลมมีสัญลักษณดอกบัวหลวงสีชมพูอยูตรงกลาง
                                                   ุ
                  และรวงขาวสีทองอยู 2 ขางดอกบัวและตนขาว หมายถง ความสมบูรณดวยพืชพันธุธัญญาหาร
                                   
                          
                                                               ึ
                              คำขวัญจังหวัดปทุมธานี "ถนบัวหลวง เมืองรวงขาว เชื้อชาวมอญ นครธรรมะ พระ
                                                     ิ่
                  ตำหนักรวมใจ สดใสเจาพระยา กาวหนาอุตสาหกรรม"
                                    
                      2.1.2 ความเปนมาของเมองปทมธานี
                                              ื
                                                   ุ
                          จังหวัดปทุมธานีเดิมชื่อ "เมืองสามโคก" เปนเมืองที่ตั้งมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ.
                  2202 สมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช มังนันทมิตรไดกวาดตอนครอบครัวมอญ เมืองเมาะตะมะ
                  อพยพหนีภัยจากศึกพมาเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร พระองคจึงทรงโปรดเกลาฯ ใหครอบครัวมอญ
                                        
                  เหลานั้นไปตังบานเรือนอยูที่บานสามโคกตอมา พ.ศ. 2317 ในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ชาว
                             ้
                  มอญไดอพยพหนีพมาเขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร เรียกวา "ครัวมอญพระยาเจง" พระองคจึงโปรด
                  เกลาฯ ใหตั้งบานเรือนที่สามโคก พ.ศ. 2358 สมัยรัชกาลที่ 2 ไดมีการอพยพชาวมอญครั้งใหญจากเมือง
                                                                                               
                  เมาะตะมะเขาสูประเทศไทยเรียกวา "มอญใหม" พระองคโปรดเกลาฯ ใหชาวมอญบางสวนตังบานเรือน
                                                                                              ้
                  อยูที่สามโคก ฉะนั้น จากชุมชนขนาดเล็ก "บานสามโคก" จึงกลายเปน "เมืองสามโคก" ในกาลตอมา

                          พ.ศ. 2549 ในสมัยรัชกาลที่ 6 ไดมีพระราชโองการโปรดเกลาฯ ใหใชคำวา "จังหวัด" แทน
                  "เมือง" โดยเมืองประทุมธานี จึงเปลี่ยนมาเปน จังหวัดประทุมธานี ขึ้นอยูในมณฑลกรุงเกา และเมื่อ พ.ศ.
                  2461 ทรงเปลี่ยนชื่อ "ประทุมธานี" เปน "ปทุมธานี"
                                                                                                      ่
                                                                                                      ื
                          พ.ศ. 2475 รัชกาลที่ 7 ทรงโปรดเกลาฯ ใหยุบจังหวัดธัญบุรีขึ้นกับจังหวัดปทุมธานีเมอ
                  พ.ศ. 2475
                        2.13 เขตการปกครอง
                             ในป พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานีแบงการปกครองสวนภูมิภาคออกเปน 7 อำเภอ

                  ประกอบไปดวย อำเภอเมืองปทุมธานี อำเภอธัญบุรี อำเภอคลองหลวง อำเภอลำาลูกกา อำเภอลาด
                  หลุมแกว อำเภอสามโคก และอำเภอหนองเสือ มีจำนวนตำบล 60 ตำบล หมูบานนอกเขตเทศบาล
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18