Page 14 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
P. 14

2-2





                  จำนวน 345 หมูบาน มีองคกรปกครองสวนทองถิ่น 65 แหง ประกอบไปดวย องคการบริหารสวน

                  จังหวัด 1 แหง เทศบาลนคร 1 แหงเทศบาลเมือง 9 แหง เทศบาลตำบล 17 แหง และองคการบริการ
                  สวนตำบล 37 แหง


                  2.2  ที่ตั้ง อาณาเขตติดตอ

                       จังหวัดปทุมธานีตั้งอยูในภาคกลาง ในเขตที่ราบลุมแมน้ำเจาพระยาตอนลาง มีเนื้อที่ประมาณ
                  1,525.856 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 953,660 ไร หางจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือตาม
                  ทางหลวงแผนดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) เปนระยะทางประมาณ 27.8 กิโลเมตร โดยมีพิกัด
                  ภูมิศาสตรอยูละติจูดท่ 13 องศา 55 ลิปดาเหนือ ถึงละติจูดที่ 14 องศา 17 ลิปดาเหนือ และลองจิจูดท่  ี
                                     ี
                  100 องศา 19 ลิปดาตะวันออก ถึงลองจิจูดที่ 100 องศา 58 ลิปดาตะวันออก และมีอาณาเขตจรด
                  อำเภอและจังหวัดขางเคียง ดังนี้

                      ทศเหนือ           ติดตอกบ      อําเภอบางไทร อําเภอบางปะอิน และอําเภอวังนอย จังหวัด
                                              ั
                         ิ
                                                      พระนครศรีอยุธยา อาเภอหนองแคแ ละอําเภอวิหารแดง
                                                                       ํ
                                                      จังหวัดสระบุรี
                                              ั
                      ทิศใต            ติดตอกบ      เขตหนองจอก เขตคลองสามวา เขตสายไหม เขตบางเขน
                                                      เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร และอาเภอปากเกร็ด
                                                                                     ํ
                                                      อําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี

                         ิ
                                              ั
                      ทศตะวันออก        ติดตอกบ      อาเภอองครักษ จังหวัดนครนายก และอําเภอบางน้ำเปรี้ยว
                                                       ํ
                                                      จังหวัดฉะเชิงเทรา
                              ั
                      ทิศตะวนตก         ติดตอกบ      อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
                                              ั
                                                                                     ํ
                                                      อําเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม และอาเภอไทรนอย
                                                      จังหวัดนนทบุรี

                  2.3  การคมนาคม
                        2.3.1 การขนสงทางบก

                        เนื่องจากสภาพทางภูมิศาสตรของจังหวัดปทุมธานี มีอาณาเขตติดตอกับกรุงเทพมหานครดานทศ
                                                                                                      ิ
                  ใต รวมทั้งเปนจังหวัดในเขตปริมณฑล ระบบโครงขายการคมนาคมขนสงทางบกของนนทบุรี กบ
                                                                                                      ั
                                              
                  กรุงเทพมหานคร คอนขางสมบูรณทั้งระบบทางหลวงแผนดินจังหวัดและชนบทที่ไดติดตอภายในจังหวัด
                                                             ี
                                                                                
                  และเชื่อมโยงเขาจังหวัดปทุมธานี และจังหวัดใกลเคยง ทำใหการเดินทางสูกรุงเทพมหานครและจังหวัด
                  ใกลเคียงเปนไปโดยสะดวก มีโครงขายคมนาคมขนสงทางบก ติดตอภายในจังหวัด และมีเสนทางเชื่อมตอ
                  ถึงทุกตำบล เสนทางคมนาคมขนสงถนนของจังหวัดปทุมธานี ประกอบดวยทางหลวงแผนดิน ซึ่งเชื่อมโยง

                  ระหวางภูมิภาคและจังหวัด ทางหลวงจังหวัดซึงเชื่อมโยงจังหวัดกับอำเภอ สวนทางหลวงทีอยูนอกเขตชุมชน
                                                                                         ่
                                                       ่
                                                                          ู
                                                                          
                  เรียกวา ทางหลวงชนบท และเชือมโยงระหวางอำเภอไปยังตำบลและหมบาน
                                           ่
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19