Page 20 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
P. 20

2-8





                              ดินเหนียวมีสมบัติเดนในการนำมาขึ้นรูปคอ มีความเหนียว และเมื่อแหงมีความแข็งแรงสูง
                                                                ื
                  ทำใหผลิตภัณฑหลังแหงมีความแข็งแรง แตอยางไรก็ตามเมื่อแหง ดินเหนียวมักมีการหดตัวสูง ซึ่งเปน
                  สาเหตุหนึ่งที่ทำใหผลิตภัณฑมีการแตกราว ดังนั้นจึงไมนิยมใชเนื้อดินเหนียวลวน ๆ ในการขึ้นรูป
                                              ี่
                                                
                  ผลิตภัณฑ แตตองมีการผสมวัสดุทไมมความเหนียว อาทิ ดินเชื้อ หรือทราย เพื่อลดการดึงตัวและหดตัว
                                                  ี
                  ซึ่งจะชวยลดปญหาการแตกราว เนื่องจากการหดตัวของดนได ดินเหนียวหลายชนิดมีชวงอุณหภูมิกวาง
                                                                  ิ
                  ที่จะเปลี่ยนไปเปนเนื้อแกว สงผลใหชวยปรับปรุงเนื้อผลิตภัณฑหลังการเผาใหดีขน ในการใชประโยชน
                                                                                     ้
                                                                                     ึ
                  จากดินเหนียวนั้น นอกจากใชเปนเนื้อดินปนสำหรับหัตถกรรมพื้นบานแลว ยังนิยมนำมาใชผสมกับดน
                                                                                                      ิ
                                                                   ้
                  ขาวเพื่อเพิ่มความเหนียว หรือชวยใหน้ำดินมีการไหลตัวดีขึน ในบรรดาวัตถุดิบทั้งหลายที่ใชในการผลิต
                  ผลิตภัณฑเซรามก โดยเฉพาะหัตถกรรมพื้นบาน อาทิ หมอ ไห กระถาง อิฐ นั้น ดินเหนียวเปนวัตถดิบท ี่
                               ิ
                                                                 
                                                                                                   ุ
                                                               ุ
                  มีความสำคัญอยางยิ่งแหลงดินเหนียวในพื้นที่จังหวัดปทมธานีซึ่งนำมาใชในอุตสาหกรรมเครื่องปนดินเผา
                                               ึ
                                                                                          ึ่
                  เปนตะกอนดินเคลยที่ราบน้ำทวมถง มีลักษณะเปนดินเคลยสีเทาหรือน้ำตาลเนื้อแนน ซงพบกระจายตัว
                  เปนหยอม ๆ ทั่วไปทั้งพื้นที่ โดยแหลงดินเหนียวที่มีชื่อเสียงมากของปทุมธานี คือ ดินสามโคก ซึ่งถูก
                  นำไปใช ในอุตสาหกรรมเครื่องปนดินเผาในหลายพื้นที่ของที่ราบลุมภาคกลาง เพราะมีคุณสมบัติพิเศษ
                  คือ เมื่อเผาออกมาแลวจะมีสีเครื่องปนดินเผาจะมีสีแดงอมสม สวยงาม และเปนที่นิยมในทองตลาด (รูป
                                                                                            
                  ที่ 6-2) แตเนื่องจากแหลงดินสามโคกเริ่มหาไดยากขึ้นและมีนอยลง ดินสามโคกจึงมีราคาสูง
                                                              
                  ผูประกอบการจึงนำดินสามโคกมาใชในการเคลือบสีเทานั้น มิไดนำมาขึ้นรูปดวยเพราะตนทุนสูง ในอดีต
                                                      ี่
                  จังหวัดปทุมธานีเปนแหลงผลิตตุมสามโคกทมีชื่อเสียงมาก แตปจจุบันมีโรงปนโองและโรงปนกระถางดิน
                  เผาเหลืออยูเพียงไมกี่แหลงปจจุบันแหลงเครื่องปนดินเผาแหลงใหญในแถบนี้ อยูที่อำเภอปากเกร็ด
                  จังหวัดนนทบุรี และอำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

                  2.8  ทรัพยากรดิน

                                                                                                ี่
                        จังหวัดปทุมธานีมีการจำแนกการใชที่ดินแตกตางกันออกไป จากการศึกษาการใชสภาพทดิน ตาม
                  คุณสมบัติของที่ดินแลวพบวา ทรัพยากรดินของจังหวัดปทุมธานี เปนดินที่ราบลุม ซึ่งมีความอุดม
                               ั
                  สมบูรณเหมาะกบการเกษตรกรรม โดยเฉพาะการปลูกขาวและทำสวนผลไม ซึ่งสามารถจำแนกลักษณะ
                                ้
                  ดินออกได 8nvพืนที่จังหวัดสวนใหญเปนที่ราบลุม ดินมีลักษณะเปนดินเหนียวจัด สภาพดินเปนกรดปาน
                  กลางถึงเปนกรดจัด มี pH ประมาณ 6-4 ซึ่งเปนลักษณะของดินเปรี้ยว โดยจeแนกไดดังนี้ (1) ดินเปรี้ยว
                  นอย มีเนื้อที่ 35,964.066 ไร คิดเปนรอยละ 5.20 ของพื้นที่จังหวัด (2) ดินเปรี้ยวปานกลาง

                  426,292.54 ไร คิดเปนรอยละ 61.58 ของพื้นที่จังหวัด (3) ดินเปรี้ยวจัด 229,991.04 ไร คิดเปนรอยละ
                  33.22 ของพื้นที่จังหวัด
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25