Page 22 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
P. 22

2-10





                  2.9  การใชประโยชนที่ดิน


                        2.9.1 ลักษณะการใชประโยชนที่ดินของจังหวัดปทุมธานี
                        การใชประโยชนที่ดินของจังหวัดปทุมธานีมีการขยายตัวของเมืองในรูปแบบการกระจาย ตาม
                  เสนทางคมนาคมสายหลักที่เชื่อมโยงกับกรุงเทพมหานคร การพัฒนาของพื้นที่ฝงตะวันออกของจังหวัด

                  ปทุมธานี มีการพัฒนารูปแบบความเปนเมืองที่เขมขน เนื่องมาจากการพัฒนาตอเนื่องจาก
                  กรุงเทพมหานคร ตามแนวถนนวิภาวดีรังสิต และถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 โดย

                  มีพื้นที่พาณิชยกรรม เปนเสนทางคมนาคมที่เพิ่มความสะดวกในการเดินทางของประชาชนทั้ง 2 ฝง จึง
                                                                   ี
                  เปนผลทำใหการใชประโยชนที่ดินฝงตะวันตกของจังหวัดมการเปลี่ยนแปลงจากการใชประโยชนที่ดิน
                  สวนใหญจากพื้นที่เกษตรกรรม เปนพื้นที่เพื่อการอยูอาศัย ตลอดจนกิจกรรมทางธุรกิจการคาท ี ่
                  ตอบสนองความตองการของผูอยูอาศัยบริเวณพื้นที่ดังกลาว

                        2.9.2 ศักยภาพของการใชประโยชนที่ดินในจังหวัดปทุมธานี
                                                                  
                        1) จังหวัดปทุมธานีมีศักยภาพทางดานพื้นที่ตั้งที่อยูติดกับกรุงเทพมหานคร มีความเชื่อมโยงของ
                  การใชประโยชนที่ดินอยางตอเนื่องซึ่งสามารถกลาวไดวาพื้นที่มีความเชื่อมตอกันเปนพื้นที่เมืองเดียวกัน

                                                                                                      ึ
                  โดยมีการใช ประโยชนที่ดินที่มีความหลากหลายในสวนของพื้นที่พาณชยกรรมและที่อยูอาศัย รวมถง
                                                                             ิ
                  การมีโครงสรางพื้นฐาน ที่ตอเนื่องกัน และสงผลใหการใชประโยชนที่ดินมีการพัฒนาอยางรวดเร็ว ม ี
                  ความเจริญขึ้นอยางมาก
                        2) พื้นที่ของจังหวัดปทุมธานีมีสภาพพื้นที่และแหลงน้ำที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการเกษตรกรรม
                                            ุ
                  ทำใหประชากรของจังหวัดปทมธานีมีพื้นฐานอาชีพดานการเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก โดยพื้นท    ่ ี
                  เกษตรกรรมสวนใหญ ในจังหวัดปทุมธานีอยูทางฝงตะวันออกของจังหวัดปทุมธานี หรือทุงรังสิต
                        3) การใชประโยชนที่ดินเพื่อการอยูอาศัยของจังหวัดปทุมธานีมีศักยภาพมาก เนื่องจากอยูติดกบ
                                                                                                      ั
                  กรุงเทพมหานคร ในดานทิศเหนือของจังหวัด ซึ่งเปนแหลงงานที่สำคัญระดับประเทศรวมถึงการม ี
                  โครงสรางพื้นฐานที่คอนขางสมบูรณ และสภาพของเมืองดานภูมิทัศนและสิ่งแวดลอมที่ดีจึงเหมาะสมตอ
                                                                                                      
                                       ั้
                  การเปนแหลงที่อยูอาศัยขนดี
                        2.9.3 แนวโนมการใชประโยชนที่ดินในจังหวัดปทุมธานี

                        1) จากการที่พื้นที่เมืองรังสิตโดยสวนใหญอยูติดกับกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีผลดึงดูดใหประขากร
                                                  ื
                                                                                            ี่
                  เพิ่มความหนาแนนขึ้น จึงทำใหพื้นที่เมองเกิดความหนาแนน และมีการขยายตัวไปในพนทโดยรอบพนท ี่
                                                                                                    ื้
                                                                                         ื้
                  เมืองทางทิศตะวันออกของจังหวัดปทุมธานี ซึ่งเปนพื้นที่เกษตรกรรมและชนบทอยางรวดเร็ว แตดวย
                  วิสัยทัศนของจังหวัดปทุมธานี เรื่องการเปนที่อยูอาศัยขั้นดี จึงมีแนวโนมที่จะเกิดชุมชนที่พักอาศย
                                                                                                      ั
                                                                                                      ี่
                                                                                                   ื้
                                                                                              ิ
                                           ึ้
                                         ิ่
                  เพิ่มขึ้นอีกมาก ดังนั้นการเพมขนของพื้นทเมองควรไดรับการวางแผนและบริหารจัดการใหเกดในพนทท ี่
                                                    ี่
                                                      ื
                  เหมาะสม
                                                                                                      ั
                        2) การใชประโยชนที่ดินดานอุตสาหกรรมในภาพรวม มีแนวโนมลดลง ซึ่งสงผลใหการขยายตว
                  ภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดปทุมธานีมีแนวโนมลดลงตามไปดวย และอาจคงไวในกิจกรรมหรือประเภท
                                                                      ี
                                                                      ่
                  อุตสาหกรรม ที่ไมกอใหเกิดผลกระทบตอการอยูอาศัยในพื้นทจังหวัดปทุมธานี รวมถึงอุตสาหกรรมท ่ ี
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27