Page 23 - รายงานสำรวจทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี
P. 23
2-11
เกี่ยวของกับภาคการเกษตร ที่จะสามารถคงอยูไดดวยการบริหารจัดการในอนาคต แนวโนมในดาน
ื
อุตสาหกรรมการบริการและการทองเที่ยว จะเพิ่มขึ้นทดแทนในสวนของภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ เพ่อ
รองรับประชากรที่จะเพิ่มขึ้น และการทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรมที่เพิ่มมากขึ้นในจังหวัดปทุมธานี
ิ
3) การใชประโยชนที่ดินภาคเกษตรกรรม มีแนวโนมลดลงโดยปรับเปลี่ยนการใชประโยชนที่ดน
เปนพื้นที่อยูอาศัยมากชิ้น รวมทั้งการเปนพื้นที่รองรับการบริการดานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการอยูอาศัย
4) การใชประโยชนที่ดินบริเวณโครงการรถไฟฟาสายสีแดง มีแนวโนมปรับเปลี่ยนการใช
้
ี
่
ประโยชนทีดินเพื่อการพาณิชยกรรมมากขึน รวมทั้งทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดนท่ม ี
ิ
ความหลากหลาย ในกิจกรรมตางๆ ตามไปดวย จึงจำเปนจะตองวางแผนการใชประโยชนที่ดินและ
ควบคุมกิจกรรมที่ไมเหมาะสม ตอชุมชนเพื่อปองกันปญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2.10 สภาพเศรษฐกิจและสังคม
2.10.1 ประชากรและอาชีพ
ประชากรขอมูลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 จังหวัด
ปทุมธานี มีประชากรรวม 1,176,412 คน เปนชาย 557,752 คนและหญิง 618,660 คน โดยความ
หนาแนนของประชากรเฉลี่ย 771.0 คนตอตารางกิโลเมตร ประชากรอาศัยอยูมากที่สุดคืออำเภอคลอง
หลวง รองลงมาคืออำเภอลำลูกกา อำเภอธัญบุรี และอำเภอเมืองปทุมธานี ตามลำดับ อัตราเพิ่ม/ลดของ
ประชากรจังหวัดปทุมธานี ยอนหลัง 5 ปของจังหวัดปทุมธานีมีแนวโนม เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องโดยในป
2563 มีอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 1.10 โดยอำเภอที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรมากที่สุดคออำเภอคลอง
ื
หลวงรอยละ 2.60 รองลงมาอำเภอลาดหลุมแกวรอยละ 2.40 และอำเภอลำลูกการอยละ 2.14
ตามลำดับ
2.10.2 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) และรายได
มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด ( Gross Province Product) จากขอมูลของสำนักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติในป พ.ศ. 2562 จังหวัดปทุมธานีมีมูลคา
ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (Gross Province Product : GPP) 434,004 ลานบาท เปนมูลคาเพิ่มที่เกด
ิ
จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจนอกภาคเกษตรเปนสวนใหญ (รอยละ 98.5) มูลคาเพิ่มในภาคการเกษตร ม ี
เพียงประมาณรอยละ 1.5 ผลิตภัณฑจังหวัดตอคน (GPP Per Capita) ประมาณ 246,897 บาทตอคน
สูงอยูลำดับที่ 13 ของประเทศ และอยูในลำดับที่ 6 ของกลุมจังหวัดภาคกลางปริมณฑล รองจากจังหวัด
่
กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ และอัตราการขยายตัวทีพิจารณาจากขอมูลลาสุดเฉพาะป พ.ศ. 2562
จังหวัดปทุมธานีมีการขยายตวทางเศรษฐกิจประมาณ รอยละ 7.22 ในขณะที่ภาพรวมของกลุมจังหวัด
ั
ี
ภาคกลางปริมณฑลขยายตวทีรอยละ 3.57 และ GPP ของประเทศมการขยายตัวอยูที่รอยละ 2.27 การ
่
ั
ขยายตัวทางเศรษฐกจขางตนเปนการขยายตัวของนอกภาคเกษตร (รอยละ 7.42 ) ในขณะที่ภาคเกษตร
ิ
มีการหดตัวรอยละ 5.65 เนื่องจากภาวะภัยแลง การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกและการระบาดของโรค
ั
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) แตผลของโครงสรางทางเศรษฐกจของจังหวัดปทุมธานีทีอาศยอยู
่
ิ
กับภาคการเกษตรเพียงรอยละ 5.65 ดังที่กลาวมาแลว จึงทำใหการขยายตัวทางเศรษฐกิจของจังหวัด