Page 14 - Wetland Prachuap Khirikhan
P. 14

2-2





                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศเปนแหงแรกของ

                  ประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2540 มีเนื้อที่ 3,085.5 ไร ครอบคลุมถึงปาเสม็ดผืนใหญที่สุดที่
                  เหลืออยูในประเทศไทย มีความหลากหลายของระบบนิเวศน้ำจืดและนกน้ำสูง ทั้งนกประจำถิ่นและนก
                  อพยพ โดยพบนกกาบบัว (Mycteria leucocepphala) ซึ่งเปนนก ที่พบวาทำรังวางไขเฉพาะบริเวณนี้

                  เทานั้น เปนแหลงใตสุดที่พบเสือปลา (Prionailurus vivervinus) งูกระดาง (Erpeton tentaculatum)
                  ซึ่งเปนประชากรที่แยกออกมาจากประชากรอื่นๆ และนกตะกรุม (Leptoptilos javanicus) ซึ่งเปนนก
                  ที่สถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุเพราะมีจำนวนเพียงเล็กนอยที่อพยพมา
                              (2)   พื้นที่ชุมน้ำเขตหามลาสัตวปาบึงโขงหลง

                                  ตั้งอยูอำเภอเซกาและอำเภอบึงโขงหลง จังหวัดบึงกาฬ เปนบึงน้ำจืด ลักษณะ
                  แคบยาวน้ำในบึงลึกโดยเฉลี่ยประมาณ 50–100 เซนติเมตร น้ำในบึงไหลลงสูแมน้ำสงครามกอนออก
                  แมน้ำโขง มีเกาะกลางบึง ไดแก ดอนแกว ดอนโพธิ์ ดอนนอง ดอนสวรรค บนเกาะมีปาดิบแลง
                  ที่คอนขางสมบูรณ

                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,098
                  เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 มีเนื้อที่ 8,062 ไร มีความสำคัญจัดเปนบึงน้ำจืดที่มีขนาดใหญที่สุด
                  ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปนแหลงที่อยูของสิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุและ
                  สถานภาพใกลสูญพันธุหลายชนิด เชน ปลากางพระรวง (Kryptopterus bichirris) ปลาดุกดาน

                  (Clarias batrachus) ปลากัดเขี้ยว (Betta smaragedina) ปลากัดไทย (B. splendens) นกกระสานวล
                  (Ardea cinerea) นกกระสาแดง (Ardea purpurea) เหยี่ยวดำ (Milvus migrans) เปดคับแค
                  (Nettapus coromandelianus) เปดดำหัวสีน้ำตาล (Aythya nyroca) ซึ่งพบอยูในสถานภาพการ
                  คุกคามของโลก บึงโขงหลงเปนแหลงอาศัยที่สำคัญสำหรับนกอพยพในฤดูหนาว 33 ชนิด เปนแหลง

                  อาหารและแหลงวางไขสำหรับปลาหลายชนิด
                              (3)   พื้นที่ชุมน้ำดอนหอยหลอด
                                  ดอนหอยหลอด ตั้งอยูอำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม
                  เปนพื้นที่ชุมน้ำชายฝงทะเล ลักษณะดินเกิดจากการทับถมของตะกอนแมน้ำและตะกอนน้ำบริเวณปาก

                  แมน้ำแมกลอง ทำใหแผนดินขยายออกไปในทะเลบริเวณพื้นที่ตั้งแตแนวชายทะเลลงไปในทะเลประมาณ
                  8 กิโลเมตร มีลักษณะผิวพื้นชายฝงราบเรียบประกอบดวยตะกอนโคลน เมื่อน้ำลดจะปรากฏเปนสันดอน
                  ทรายกวางประมาณ 4 กิโลเมตร

                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,099
                  เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 546,875 ไร รวมทั้งพื้นที่บนบกและในทะเล ความสำคัญที่จัดเปน
                  พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ คือ เปนพื้นที่ชุมน้ำชายฝงทะเลมีลักษณะธรรมชาติที่หายาก
                  ประเภทหนึ่ง มีหาดเลนเปนแหลงที่อยูอาศัยของหอยหลอด (Solen regularis) ที่เปนเอกลักษณสำคัญ
                  ของพื้นที่ นอกจากนี้ยังมีคุณคาดานความหลากหลายทางชีวภาพ พบพืชอยางนอย 42 ชนิด นกอยางนอย

                  18 ชนิดสัตวไมมีกระดูกสันหลังอยางนอย 42 ชนิด และหอยประมาณ 10 ชนิด
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19