Page 10 - Wetland Prachuap Khirikhan
P. 10

1-2





                  1.2  วัตถุประสงค

                        1.2.1  เพื่อจัดทำฐานขอมูลพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ
                  ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                        1.2.2 เพื่อตรวจสอบสภาพของพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ

                  1.3  ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

                      1.3.1 ไดฐานขอมูลจุดที่ตั้งพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ
                  ที่จัดเก็บในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                      1.3.2 ทราบสถานภาพของพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ

                      1.3.3 นำไปใชเปนขอมูลสนับสนุนงานวางแผนการใชที่ดิน การหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการ
                  จัดสรางแหลงน้ำขนาดเล็กของกรมพัฒนาที่ดิน

                  1.4  ขอบเขตการศึกษาและวิธีการศึกษา

                      1.4.1 ขอบเขตการศึกษาของพื้นที่
                          พื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ Zone 47N
                      1.4.2 อุปกรณที่ใชในการศึกษา
                          1) ขอมูลภาพถายดาวเทียม Spot-5 ที่บันทึกป พ.ศ.2553
                          2) แผนที่ภูมิประเทศ L7017 และ L7018 มาตราสวน 1 : 50,000

                          3) ภาพถายออรโธสี มาตราสวน 1 : 25,000
                          4) แผนที่ขอบเขตการปกครองประเทศไทย มาตราสวน 1 : 50,000
                          5) แผนที่เสนทางน้ำ คลองชลประทาน มาตราสวน 1 : 50,000

                          6) โปรแกรมคอมพิวเตอร ไดแก โปรแกรมสําเร็จรูปและโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                      1.4.3 วิธีการศึกษา
                          1)  รวบรวมขอมูลทะเบียนรายชื่อพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่น จากสำนักงาน

                  นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                          2) กำหนดตำแหนงของพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่น ตามทะเบียนของสำนัก
                  นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหสามารถอางอิงตามระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                  โดยหาตำแหนงและสภาพของพื้นที่ชุมน้ำ โดยใชฐานขอมูลหมูบานและขอบเขตการปกครอง เปน

                  ขอบเขตหลักในการกำหนดตำแหนงพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่น
                          3) นำภาพถายออรโธสีมาตราสวน 1 : 25,000 และภาพถายดาวเทียม ใชในการคัดกรอง
                  พื้นที่ตามสภาพความสมบูรณของพื้นที่ชุมน้ำพรอมหาตำแหนงพื้นที่ชุมน้ำ
                          4) ตรวจสอบสถานภาพพื้นที่ชุมน้ำจากแผนที่ภูมิประเทศ L1017 และ L7018 เพื่อคัดกรอง

                  พื้นที่ชุมน้ำที่หมดสภาพพรอมหาตำแหนงพื้นที่ชุมน้ำ
                          5) นำเขาขอมูลพิกัดจุดที่ตั้งพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระดับทองถิ่นโดยใชระบบ
                  สารสนเทศภูมิศาสตร
                          6) วิเคราะหขอมูลโดยกำหนดและจำแนกประเภทของขอมูลเปนจุดและทำการใหคาของ

                  ตำแหนงตามสภาพของพื้นที่ชุมน้ำวามีการคงสภาพหรือหมดสภาพแลว
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15