Page 15 - Wetland Prachuap Khirikhan
P. 15
2-3
(4) พื้นที่ชุมน้ำปากแมน้ำกระบี่ จังหวัดกระบี่
ตั้งอยูอำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่ ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแตสุสานหอย 75 ลานป
รวมพื้นที่ปาชายเลน หาดเลน หาดทราย ลำคลองนอยใหญหนาเมืองกระบี่จนถึงปาชายเลน และ
แหลงหญาทะเลผืนใหญบริเวณเกาะศรีบอยา
ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,100
เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 133,120 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
ระหวางประเทศ คือ เปนแหลงหญาทะเลในเกาะศรีบอยา และเปนพื้นที่ชุมน้ำชายฝงมีลักษณะเฉพาะ
แหงหนึ่งของประเทศไทยพบนกอยางนอย 221 ชนิด ในพื้นที่ปาชายเลน เปนแหลงที่พบนกที่อยูใน
สถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุและสถานภาพใกลสูญพันธุหลายชนิด เชน นกยางจีน (Egretta
eulophotes) นกฟนฟุท (Helioparis personata) และนกทะเลขาเขียวลายจุด (Tringa guttifer)
นอกจากนี้ยังพบพะยูน (Dugong dugon) ซึ่งอยูในสภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุ หาดเลนในพื้นที่ชุมน้ำ
ปากแมน้ำกระบี่จัดเปนหาดเลนที่มีความสำคัญมากตอนกอพยพในภาคใต มีความหลากหลายทาง
ชีวภาพสูง พบพันธุไม 35 ชนิด หญาทะเล 9 ชนิด รวมถึงพันธุปลา 232 ชนิด
(5) พื้นที่ชุมน้ำเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย
ตั้งอยูอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เปนบึงน้ำจืดอยูในเขตหามลาสัตวปาหนองบง
คายและเปนสวนหนึ่งของลุมน้ำเชียงแสนและทะเลสาบเชียงแสน
ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,101
เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 2,712.5 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
ระหวางประเทศ คือ เปนพื้นที่ที่มีความสำคัญตอนกประจำถิ่นและนกอพยพ โดยเฉพาะนกน้ำที่อยูใน
สภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุของโลก เชน เปดดำหัวดำ (Aythya baeri) และสถานภาพใกลสูญพันธุ
ของประเทศไทย เชน นกกาน้ำใหญ (Phalacrocora carbo) นกกระสาแดง (Ardea purpurea) และ
เหยี่ยวดำ (Milvus migrans) บริเวณเขตหามลาสัตวปาหนองบงคาย พบนก 121 ชนิด เปนแหลงที่นกทำรัง
วางไขบริเวณนี้อยางนอย 15 ชนิด บริเวณทะเลสาบพบพืช 185 ชนิด นกทั้งหมด 225 ชนิด และพบ
ปลาอยางนอย 46 ชนิด
(6) พื้นที่ชุมน้ำเขตรักษาพันธุสัตวปาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ
(พรุโตะแดง)
ครอบคลุมอำเภอเมืองนราธิวาส ตากใบ สุไหงโกลกและสุไหงปาดี จังหวัด
นราธิวาส เปนที่ราบลุมน้ำทวมขังซึ่งอยูหางจากชายฝงทะเล เปนแหลงรองรับน้ำจากลุมน้ำตอนบนทอด
ขนานไปกับแนวชายฝงทะเลภาคใตดานตะวันออกในระยะหางประมาณ 7 กิโลเมตร พื้นที่ประกอบดวย
พรุดั้งเดิม ปาพรุที่กลายสภาพเปนปาเสม็ด ไมพุมและพรุหญา มีภูมิอากาศคอนขางรอนและชื้นกวาปาชนิดอื่น
ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ เปนลำดับที่ 1,102
เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เนื้อที่ 125,625 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
ระหวางประเทศ คือ เปนปาพรุดั้งเดิมผืนใหญที่สุดที่ยังคงเหลืออยูในประเทศไทยและเปนแหลงที่มี
ความหลากหลายทางชีวภาพสูงทั้งพืชและสัตว พบสิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพมีแนวโนมใกลสูญพันธุ
และสถานภาพใกลสูญพันธุหลายชนิด เชน นกตะกรุม (Leptoptilos javanieus) นกฟนฟุท
(Heliopais personata) นกเปลาใหญ (Teron cepeller) เตาหม (Cuora amboinensis) เตาดำ