Page 17 - Wetland Prachuap Khirikhan
P. 17

2-5





                                  ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศลำดับที่ 1,184

                  เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เนื้อที่ 63,750 ไร ความสำคัญที่จัดเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญ
                  ระหวางประเทศ คือ ประกอบดวยพื้นที่ชุมน้ำหลายรูปแบบ เชน หาดทราย หาดหิน ปาชายเลน และแนว
                  ปะการังเปนแหลงที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว โดยบางชนิดจัดเปนพืชพันธุ

                  เฉพาะถิ่นไดแก กลวยไมนารีชองอางทอง (Paphiopedilum niveum) สิ่งมีชีวิตที่อยูในสถานภาพใกล
                  สูญพันธุไดแก นกเงือกดำ (Anthracoceros malayanus) สถานภาพใกลถูกคุกคาม เชน นกออก
                  (Haliaectus leucogaster) นกลุมพูขาว (Ducula bicolor) พบสังคมพืชที่ประกอบดวยปาดงดิบแลง
                  ครอบคลุมพื้นที่ของเกาะขนาดใหญ ปาชายหาดเปนปาโปรงขึ้นบริเวณแคบๆ ตามชายหาด และเชิงเขา

                  หินปูนซึ่งมีชั้นดินนอย ปาชายเลนพบอยูนอยมากบริเวณซอกหินที่มีหาดทรายหรือหาดเลน
                              (10)  พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติอาวพังงา
                                  เปนอาวตื้นลอมรอบดวยปาชายเลนที่ตอเปนผืนใหญในอำเภอเมืองพังงาและ
                  อำเภอตะกั่วทุง จังหวัดพังงา สวนที่เปนหาดเลน เนื้อที่ 25,300 ไร ระดับน้ำในอาวคอนขางตื้นประมาณ

                  1-4 เมตร ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ ลำดับที่ 1,185 เมื่อวันที่ 14 มกราคม
                  พ.ศ. 2545 ประกอบดวยเกาะประมาณ 42 เกาะ เชน เกาะเขาเตา เกาะพระอาดเฒ า
                  เกาะมะพราว เกาะปนหยี และเกาะเขาพิงกันมีความหลากหลายของระบบนิเวศทั้งชายหาด ปากแมน้ำ
                  ปาชายเลน หาดเลน หนาผา หาดหินและแหลงหญาทะเล เปนตัวอยางของพื้นที่ชุมน้ำตามธรรมชาติที่

                  เปนแหลงของชนิดพันธุที่มีสถานภาพใกลสูญพันธุอยางยิ่ง ไดแก พะยูน (Dugong dugon) สถานภาพ
                  คุกคามของโลก ไดแก นกหัวโตมลายู (Charadrius peronii) นกซอมทะเลอกแดง (Limnodromus
                  semipalmatus) สถานภาพใกลถูกคุกคาม เชน นกออก (Haliaeetus leucogastus)
                              (11)  พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติเขาสามรอยยอด

                                  พื้นที่ชุมน้ำอุทยานแหงชาติสามรอยยอดตั้งอยูในเขตอำเภอกุยบุรีและอำเภอ
                  ปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ เปนพื้นที่ชุมน้ำประเภทพื้นที่ราบลุมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีน้ำขัง
                  หรือทวมถึงอยูอยางถาวร มีทั้งสวนที่เปนน้ำจืดและน้ำกรอย ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวาง
                  ประเทศลำดับที่ 1,734 เมื่อวันที่14 มกราคม พ.ศ. 2551 เนื้อที่ 43,074 ไร โดยเปนทุงน้ำจืดขนาดใหญ

                  มีพื้นที่ประมาณ 1,190 ไร มีระบบนิเวศที่แตกตางกัน 10 ประเภท ทั้งที่เปนระบบนิเวศแหลงน้ำ
                  ในแผนดินและระบบนิเวศทางทะเลและชายฝง มีความหลากหลายของชนิดนกสูงมากถึง 316 ชนิด
                  อยางนอย 157 ชนิด อาศัยในพื้นที่บริเวณทุงสามรอยยอด พบนกอยางนอย 116 ชนิด เปนนกประจำถิ่น

                  และอพยพซึ่งอยูในสถานภาพถูกคุกคามของโลก ไดแก นกตะกราม นกกระทุง เปดดำหัวดำ
                  นกอินทรียปกลาย นกหัวโตมลายูและนกซอมทะเลอกแดง เปนตน พบนกที่อยูในสถานภาพใกลสูญพันธุ
                  อยางยิ่งของประเทศ ไดแก นกเคาแดงใหญสีน้ำตาล รวมถึงพบชนิดพันธุปลาที่อยูในสถานภาพ
                  มีแนวโนมใกลสูญพันธุ ไดแก ปลาดุกดาน พบไมชายเลน พืชชายเลนและพืชน้ำรวมไมนอยกวา 150 ชนิด
                              (12)  พื้นที่ชุมน้ำกุดทิง

                                  เปนพื้นที่ชุมน้ำประเภทหนองบึง ที่ใชภาษาทองถิ่นคำวา “กุด” ซึ่งหมายถึงน้ำที่มา
                  จากลำหวยหลายสายไหลมารวมเปนแองน้ำ ประกาศเปนพื้นที่ชุมน้ำที่มีความสำคัญระหวางประเทศ
                  ลำดับที่ 1,926 เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2552 เนื้อที่ 16,500 ไร กุดทิงอยูในเขตจังหวัดบึงกาฬ มีสภาพ

                  เปนหนองบึงขนาดใหญ ที่มีน้ำขังตลอดป มีการเชื่อมตอกับแมน้ำในชวงฤดูน้ำหลาก กุดทิงถือเปนพื้นที่
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22