Page 209 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 209

5-36






                  สงเสริมการปลูกโดยใชเมล็ดพันธุที่หลากหลาย ดำเนินนโยบายที่สงเสริมการเกษตรเพื่อสิ่งแวดลอม
                  ปฏิรูปที่ดิน และระบบที่เหมาะสมในการใชประโยชนจากทรัพยากร สรางหลักประกันวาคนจนสามารถ

                  เขาถึงและเปนเจาทรัพยากรการผลิตตาง ๆ ผลักดันกฎระเบียบที่มีผลบังคับใหบรรษัทเมล็ดพันธุและสารเคมี
                  แสดงความรับผิดชอบตอสังคม พัฒนาตลาดสินคาเกษตรอินทรีย และเปลี่ยนรสนิยมและความตองการผูบริโภค
                  ใหหันมาสนับสนุนและบริโภคอาหารที่หลากหลาย

                       5.3.3 พื้นที่แหลงน้ำ น้ำเปนแหลงกำเนิดชีวิตของสัตวและพืชคนเรามีชีวิตอยูโดยขาดน้ำ
                  ไดไมเกิน 3 วัน และน้ำยังมีความจำเปนทั้งในภาคเกษตรกรรม รักษาระบบนิเวศทางน้ำ
                  และอุตสาหกรรม ซึ่งมีความสำคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศ การบริหารจัดการน้ำอยางยั่งยืน
                            1) หลักการอนุรักษทรัพยากรน้ำทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ดังนี้

                              (1) การจัดหาแหลงน้ำใหเพียงพอ (Availability of water resource) การจัดหา
                  แหลงน้ำและการเก็บกักน้ำ (Reservoir) การสรางอางเก็บน้ำที่เหมาะสมเพื่อกักเก็บน้ำผิวดิน
                  (Surface water) การสรางฝายหรือระบบจัดเก็บน้ำอื่น ๆ เพื่อปองกันการขาดแคลนน้ำ

                              (2) แหลงน้ำจากกิจกรรมทางการเกษตร การลดอัตราการกรอนของดิน
                  การลดการใชสารเคมี เชนปุยและสารกำจัดศัตรูพืชสามารถชวยลดการปนเปอนของสารเคมีเหลานี้
                  ในแหลงน้ำทั้งน้ำผิวดินและน้ำใตดินได การสงเสริมการใชระบบน้ำหยดในการเพาะปลูก
                  (Microirrigation/drip) ชวยลดการสูญเสียน้ำ การปศุสัตว (Livestock) การเลี้ยงสัตว เชน
                  สัตวเล็มหญานั้นหากมีการจัดการไมดี อาจสงผลใหเกิดการปนเปอนของมูลสัตวสูแหลงน้ำได

                  อาจเปนสาเหตุทำใหเกิดการแพรขยายของเชื้อแบททีเรียโคลิฟอรม (Coli form bacteria)
                  ในแหลงน้ำผิวดิน ดังนั้นควรมีการจัดการมูลสัตวใหเหมาะสมโดยการสรางบอกักเก็บ
                  และการประยุกตใชผลิตกาซชีวภาพหรือทำเปนปุยไดดวย

                              (3) การเลือกพืชปลูกใชน้ำนอย ซึ่งการปลูกพืชจำพวกสมุนไพร หรือหญาชวยรักษา
                  ความชื้นในดินมากกวาไมยืนตนขนาดใหญ เนื่องจากพืชสมุนไพรมีอัตราการคายน้ำต่ำกวาซึ่งสามารถ
                  ลดอัตราการใชน้ำได ดังนี้ ในพื้นที่ทางการเกษตร การปลูกพืชคลุมดินกลุมนี้สามารถลดการกรอนของดิน
                  แลวยังรักษาความชื้นในดินดวย ซึ่งจะเปนการประหยัดน้ำในการเพาะปลูกไดอีกแนวทางหนึ่ง เปนตน

                              (4) แหลงน้ำจากอุตสาหกรรม น้ำเสียจากอุตสาหกรรม (Industrial water waste)
                  โรงงานตองวางแผนการใชน้ำอยางคุมคา ลดการปลอยน้ำเสียโดยการทำบำบัดน้ำกอนปลอยออกสู
                  สิ่งแวดลอม ซึ่งแมวาการสรางโรงบำบัดน้ำจะมีคาใชจายสูง แตเปนการอนุรักษสิ่งแวดลอมไดดี
                              (5) การรักษาแหลงน้ำจากกิจกรรมชุมชน น้ำเสียจากชุมชน (Municipal water waste)

                  การลดการปลอยน้ำเสียจากชุมชนหรือครัวเรือนลงสูแหลงน้ำธรรมชาติโดยการสรางบอกักเก็บอยางถูกวิธี
                  ทำการติดตั้งสุขภัณฑและระบบประหยัดน้ำ ปรับปรุงนิสัยการบริโภคเทาที่เหมาะสมและจำเปนเพื่อลดของเสีย
                  การลดการใชน้ำเปนการชวยประหยัดเงินไปในตัวดวย อยางไรก็ตาม น้ำเสียจากชุมชนนั้นสามารถ
                  ทำการบำบัดได

                              (6) การพัฒนาเมือง (Urban development) การกอสรางอาคารและการตัดถนน
                  เปนปญหาใหญตอแหลงน้ำและพื้นที่ลุมน้ำมาก การขยายตัวของเมืองทำใหลุกล้ำเขาไปในพื้นที่ลุมน้ำ
                  สงผลตอการซึมผานของน้ำ และเกิดปญหาตอทั้งปริมาณและคุณภาพของน้ำบาดาล








                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214