Page 211 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 211

5-38






                  การขุดเจาะบอบาดาลก็เปนอีกแนวทางหนึ่งในการหาแหลงน้ำจืด เพราะน้ำบาดาลมีปริมาณมากกวาน้ำผิวดิน
                  และกำลังกลายเปนแหลงน้ำจืดที่สำคัญมากขึ้น เพราะนอกจากมีปริมาณมากแลว น้ำบาดาลมีโอกาศ

                  ปนเปอนต่ำกวาน้ำผิวดิน  ปราศจากจุลินทรีย ปราศจากสี มีองคประกอบทางเคมีคอนขางคงที่
                  และยังยังมีขอดีอื่น ๆ อีกมาก อยางไรก็ตาม การเจาะบอบาดาลนั้นตองใหถูกหลักวิชาการเพื่อลด
                  การปนเปอนแหลงน้ำบาดาล รวมถึงการปองกันการรัวซึมของมลพิษจากการเกษตร อุตสาหกรรม
                  และชุมชนลงสูแหลงน้ำบาดาล การสูบน้ำเกลือจากการทำเหมืองเกลือในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  ของประเทศไทย เปนสาเหตุหนึ่งของการปนเปอนน้ำเกลือในระบบน้ำบาดาล น้ำผิวดิน
                  เกิดปญหาดินเค็มลุกลาม และเกิดหลุมยุบขนาดใหญ

                       5.3.4 พื้นที่เมือง และชุมชน

                            1) การพัฒนาเมืองนาอยู ในปจจุบันเมืองนาอยูมีความหมายกวาง คือ เปนเมือง
                  ที่มีผูบริหารระดับสูงและ ชุมชนที่มีวิสัยทัศนกวางไกล สามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่จะกอใหเกิด
                  ผลดีตอชุมชนในอนาคต สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2546)
                  ไดกำหนดกรอบความคิดในการพัฒนาเมืองนาอยูและชุมชนนาอยู รวมกับหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ

                  โดยกำหนดใหเมืองนาอยูหรือ ชุมชนนาอยูมีลักษณะสำคัญ 5 ดาน 1) ดานสังคม 2) ดานเศรษฐกิจ
                  ประกอบดวย 3) ดานกายภาพ  4) ดานสิ่งแวดลอม 5) ดานการบริหารและการจัดการ
                  ซึ่งจะทำใหทุกคนในเมืองมีสุขภาพอนามัยที่ดีมีสิ่งแวดลอม สังคมที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
                  องคการอนามัยโลก (World Health Organization) ไดกำหนดลักษณะของเมืองนาอยูไว 11 ประการ คือ

                              (1) การรักษาความสะอาดดานกายภาพและสิ่งแวดลอมที่มีคุณภาพรวมทั้งคุณภาพ
                  ของที่อยูอาศัย
                              (2) ระบบนิเวศที่ยึดโยงการอยูรวมกันระหวางพืช สัตว และสิ่งแวดลอมที่สามารถอยู
                  รวมกันอยางสมดุลยอยางยั่งยืนนาน

                              (3) ชุมชนมีความเกื้อกูลและไมเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน
                              (4) ประชาชนมีสวนรวมอยางกวางขวางในการกำหนดควบคุมและตัดสินใจ
                  เกี่ยวกับเรื่องที่มีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตสุขภาพอนามัยและการกินดีอยูดี
                              (5) การสนองตอบความจำเปนพื้นฐาน (อาหาร น้ำ ที่พักอาศัย รายได ความปลอดภัย

                  และการมีงานทำ)
                              (6) มีกลไกการระดมความคิด ประสบการณและทรัพยากรอันหลากหลาย
                  จากการประสานงาน การติดตอและการทำงานรวมกับชุมชน

                              (7) เปนเมืองที่มีระบบเศรษฐกิจที่หลากหลาย มีชีวิตชีวาและมีนวัตกรรมอยูเสมอ
                              (8) เสริมสรางการเชื่อมโยงมรดกทางวัฒนธรรม สภาพทางชีวภาพอันดีงาม
                  รวมทั้งเอกลักษณของกลุมชนในชุมชนของแตละชุมชน
                              (9) ใหมีรูปแบบการดำเนินงานที่สามารถขับเคลื่อนใหบรรลุเปาหมายโดยใชทรัพยากร
                  ที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด

                              (10) ใหมีระบบการใหบริการดูแลความเจ็บปวยที่เหมาะสมสำหรับประชาชนทุกคน
                              (11) มีสภาวะสุขภาพของประชาชนในระดับดีมาก คือ มีสุขภาพอนามัยในระดับสูง
                  และมีอัตราการเจ็บปวยในระดับต่ำ






                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216