Page 208 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 208

5-35






                              (4) การประยุกตวิธีการใหสอดคลองกับนิเวศเกษตรและสภาพทางเศรษฐกิจ
                  และสังคมของแตละทองถิ่น หรือภูมิสังคม โดยวิธีการนั้น ๆ เกิดขึ้นจากการทดลองปฏิบัติที่ประสบผล

                  สำเร็จหรือพัฒนาขึ้นจากภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อตอบสนองการดำรงชีพของเกษตรกร
                              (5) การอนุรักษทรัพยากรพืชและสัตวโดยเฉพาะในไรนาเปนการชวยปกปอง
                  ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อความมั่นคงในการดำรงชีวิต รวมทั้งเปนการเตรียมการสำหรับ
                  ความตองการในอนาคตและการดำรงอยูของระบบนิเวศ
                              (6) การปรับปรุงงานวิจัยและโครงการดานการปรับปรุงพันธุเพื่อเสริมสรางความ
                  เขมแข็งดานความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งเปนหัวใจสำคัญและเอื้อประโยชนตอ การผลิต

                              (7) มีนโยบายสนับสนุนดานสิ่งแวดลอม ยกเลิกนโยบายจูงใจใหใชพันธุพืชแบบเดียว
                  การใชสารเคมีกำจัดศัตรูพืช รวมทั้งผลักดันนโยบายดานที่ดิน ยอมรับสิทธิเกษตรกรในการปลูกพันธพืชพื้นบาน
                  ซึ่งมีความสำคัญสำหรับการเสริมสรางความเขมแข็งดานความหลากหลายทางชีวภาพในระบบเกษตร
                  และความมั่นคงทางอาหาร
                              (8) การผสมผสานองคความรูทางการเกษตรแนวทางการมีสวนรวม
                  การผสมผสานความรู ภูมิปญญาชาวบาน การทดลองและการปฏิบัติดานการเกษตร ถือวาเปนประโยชน
                  สำหรับความหลากหลายทางชีวภาพในระบบเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน เชนเกษตรกรประยุกต

                  การทำเกษตรแบบพื้นบานดวยการปลูกพืชหลากหลายชนิด ที่เรียกวา เอเซียติก (Asiatic System of
                  Mixed farming) รวมทั้งมีการเลี้ยงสัตวและประมง ระบบดังกลาวจึงเปนการผสมผสาน
                  และการใชประโยชนจากพืชพันธในทองถิ่น การปรับปรุงบำรุงดินดวยมูลสัตวที่เลี้ยง ซึ่งระบบดังกลาว
                  ชวยเพิ่มผลผลิตเทียบเทากับการผลิตแบบเชิงเดี่ยวได
                            18) การพัฒนาเกษตรผสมผสานเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบเกษตร
                  ที่มีการปลูกพืชและมีการเลี้ยงสัตวหลากหลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน โดยที่กิจกรรมการผลิตแตละชนิด

                  เกื้อกูลประโยชนตอกันไดอยางมีประสิทธิภาพ มีการใชทรัพยากรที่มีอยูในไรนาอยางเหมาะสม
                  เกิดประโยชนสูงสุด มีความสมดุลตอสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง และเกิดการเพิ่มพูนความอุดมสมบูรณ
                  ของทรัพยากรธรรมชาติ การเกื้อกูลกันระหวางพืชและสัตว เศษซากและผลพลอยไดจากการปลูกพืช
                  จะเปนประโยชนตอกิจกรรมการเลี้ยงสัตว ในทางตรงกันขาม ผลที่ไดจากการเลี้ยงสัตวก็จะเปน
                  ประโยชนตอพืชดวยเชนกัน มีหลักการพื้นฐานของระบบเกษตรกรรมแบบผสมผสานมีอยูอยางนอย 2
                  ประการสำคัญ ๆ คือ (1) ตองมีกิจกรรมการเกษตรตั้งแต 2 กิจกรรมเปนตนไป โดยการทำการเกษตร
                  ทั้งสองกิจกรรมนั้น ตองทำในพื้นที่และระยะเวลาเดียวกัน ซึ่งกิจกรรมเหลานั้นควรประกอบไปดวย
                  การปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว และสามารถผสมผสานระหวางการปลูกพืชตางชนิด หรือการเลี้ยงสัตว

                  ตางชนิดกันได และ (2) การเกื้อกูลประโยชนระหวางกิจกรรมเกษตรตาง ๆ และการใชประโยชน
                  จากทรัพยากรในระบบเกษตรแบบผสมผสานนั้น เกิดขึ้นทั้งจากวงจรการใชแรธาตุอาหารรวมทั้งอากาศ
                  และพลังงาน เชน การหมุนเวียนใชประโยชนจากมูลสัตวใหเปนประโยชนกับพืช และใหเศษพืช
                  เปนอาหารสัตว โดยที่กระบวนการใชประโยชนจะเปนไปทั้งโดยตรงหรือโดยออม เชน ผานการหมักของ
                  จุลินทรียเสียกอน
                            19) การปรับปรุงนโยบายภาคเกษตร การเปลี่ยนแปลงทางนโยบายดานการเกษตร

                  ที่สงผลตอการแกปญหา และสนับสนุนสิทธิเกษตรกรเปนสิ่งสำคัญและเปนความจำเปนเรงดวน
                  นอกจากนี่ การจัดทำนโยบายและขอกฎหมายตางๆ ควรคำนึงถึง การมีสวนรวมของสาธารณะชน
                  กำจัดมาตรการจูงใจเกษตรกรในการใชพันธุพืช-พันธุสัตวลูกผสม การใชสารเคมีทางการเกษตร





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213