Page 215 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 215

5-42






                  ถือเปนอีกตัวหนึ่งที่มีบทบาทในการเขียนดาน Geoprocessing เปนอยางมากมาย ซึ่งจะเห็นไดในกลองเครื่องมือ

                  ของ ArcToolbox โดยเห็นที่วา ทำไม Python ถือเปน Script สำหรับการพัฒนา มีดังนี้ Python
                  มีรูปแบบที่งายตอการเรียนรู โดยไมจำเปนตองรูโครงสราง และรูปแบบ Python สนับสนุนการพัฒนา
                  ซอฟแวรดาน OOP และงายตอการเขาใจ เอกสารดาน Python เรียนรูงายและโคดไมสลับสับซอน

                  การคอมไพลขอมูลโครงสราง งายตอการทำงาน Python สามารถ Integrate เขากับภาษาอื่น ๆ เชน
                   ++
                  C  , Java และ Fortran Python เปนรหัสเปดที่เปดใหใชงานฟรี และมีเว็บไซทสำหรับการเรียนรู
                  ทั้งหมดนี้คือการอธิบายวา ทำไมตองใช Python สำหรับการพัฒนา geoprocessing เตรียมความพรอม
                  ดานความรูกอนการพัฒนาดวย Python

                       9) การวางแผนการใชที่ดินใชขอมูลมากหรือมีขนาดใหญ หรือ Big data คือ ขอมูลที่ประกอบดวย
                  คุณลักษณะ 4 อยางคือ 1) Volume  size ของขอมูลมีขนาดใหญ มีปริมาณขอมูลมาก
                  ซึ่งสามารถเปนไดทั้งขอมูลแบบ offline หรือ online 2) Variety คือ  ขอมูลมีความหลากหลาย

                  สามารถเปนไดทั้งที่มีโครงสรางและขอมูลที่ไมสามารถจับ pattern ได 3) Velocity คือ
                   ขอมูลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอยางรวดเร็ว มีการสงผานขอมูลอยางตอเนื่องในลักษณะ
                  streaming ทำใหการวิเคราะหขอมูลแบบ manual มีขอจำกัด 4) Veracity คือ ขอมูลมีความไมชัดเจน

                  (untrusted, uncleaned)โดยรูปแบบของขอมูลของ big data ก็สามารถเปนไปไดหลากหลาย ตั้งแต
                  (1) Behavioral data: ขอมูลเชิงพฤติกรรมการใชงานตาง ๆ เชน server log, พฤติกรรมการคลิกดูขอมูล,
                  ขอมูลการใช ATM เปนตน (2) Image & sounds: ภาพถาย, วีดีโอ, รูปจาก google street view,

                  ภาพถายทางการแพทย, ลายมือ, ขอมูลเสียงที่ถูกบันทึกไว เปนตน (3) Languages: text message,
                  ขอความที่ถูก tweet, เนื้อหาตาง ๆ ในเว็บไซต เปนตน (4) Records: ขอมูลทางการแพทย,
                  ขอมูลผลสำรวจที่มีขนาดใหญ, ขอมูลทางภาษี เปนตน (5) Sensors: ขอมูลอุณหภูมิ, accelerometer,
                  ขอมูลทางภูมิศาสตร เปนตน
                        การวิเคราะหขอมูล Big data (Big data analytics) อาศัยหลักการพื้นฐานบางอยางเพื่อพัฒนา

                  เปนเทคนิคในการดึงขอมูลสำคัญออกจากชุดฐานขอมูลขนาดใหญที่เต็มไปดวยขอมูลหลากหลายรูปแบบ
                  เพื่อนำมาหา pattern ของขอมูลที่มองไมเห็นดวยตาเปลา หารูปแบบความสัมพันธที่ซอนอยู
                  หาแนวโนมการตลาด เทรนดความชอบของลูกคา และขอมูลอื่นๆที่เปนประโยชนทางธุรกิจ

                  ผลจากการวิเคราะหขอมูล Big data ทำใหมีขอมูลที่เปนขอเท็จจริงซึ่งผานการวิเคราะหอยางเปนระบบ
                  เพื่อใชประกอบการตัดสินใจ โดยระดับของการวิเคราะหก็เปนไดหลากหลาย แลวแตรูปแบบการนำไปใชงาน
                  1) Descriptive analytics เปนการวิเคราะหในระดับที่บอกวาเกิดอะไรขึ้น จำนวนเทาไหร ถี่แคไหน
                  เกิดเหตุการณสำคัญ ๆ ตอนไหน ตรงไหนบาง เปนตน โดยสามารถทำในรูปแบบของ

                  Standard report: “เกิดอะไรขึ้น”  Ad hoc report: “จำนวนเทาไหร บอยแคไหน ที่ไหน” Query:
                  “อะไรคือปญหาที่แทจริง” และ Alerts: “ตองเกิด action อะไร” 2) Predictive analytics
                  เปนการวิเคราะหในลักษณะที่ซับซอนขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งคือ เปนการประเมินวาจะเกิดอะไรขึ้นตอไป
                  มีการใหขอมูลตัวชี้วัดของผลลัพธที่อาจจะเกิดขึ้นถาแนวโนมยังเปนอยางนี้ตอไป โดยผลการวิเคราะห

                  อาจออกมาในรูปแบบของ Statistical analysis: “ทำไมถึงเกิดเหตุการณนี้” Randomized testing:
                  “จะเกิดอะไรขึ้นถาเราทดลองทำวิธีการนี้” Predictive modeling: “จะเกิดอะไรขึ้นตอไป”
                  Optimization: “อะไรคื อสถาน การณ ที่ ดี ที่ สุด ที่ จะเกิ ดขึ้น ” 3) Prescriptive analytics





                                                                         กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220