Page 125 - Phetchaburi-Prachuap Khirikhan Basin
P. 125

3-91





                  คุมครองมามอบใหแกพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา 66 หรือไมมาแจงรายการเกี่ยวกับชนิดและจำนวน

                  ของสัตวปาคุมครองตามมาตรา 67 แหงพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535
                  ทำใหพนักงานเจาหนาที่ไมสามารถควบคุมดูแลใหผูครอบครองสัตวปาคุมครองปฏิบัติใหถูกตองตาม
                  หลักเกณฑวิธีการและเงื่อนไขของการคุมครองสัตวปาคุมครองได จึงสมควรกำหนด

                  ใหผูครอบครองสัตวปาโดยไมชอบดวยกฎหมายมาแจงการครอบครอง และอนุญาตมีไวในครอบครอง
                  ซึ่งสัตวปาคุมครองดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ไดภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยไมตองรับโทษดังนั้น
                  จำเปนตองปรับปรุงพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 เปนพระราชบัญญัติสงวนและ
                  คุมครองสัตวปา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 ประกาศ ณ วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2546

                              (3) พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 เปนกฎหมายที่ประกาศ ณ วันที่
                  16 เมษายน พ.ศ. 2507 เพื่อคุมครองและสงวนปาใหคงสภาพปาไมของปาหรือทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ
                  ใหกระทำไดโดยกฎหมายกระทรวงซึ่งตองมีแผนที่แสดงแนวเขตปาที่กำหนดแนบทาย แตเนื่องจาก
                  การประกาศใชพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 พื้นที่บางแหงยังมิไดสงวนคุมครองและ

                  พื้นที่ที่ถูกคุมครองแลวถูกบุกรุกเนื่องจากกฎหมายวาดวย การสงวนปาที่ใชอยูมีวิธีการไมรัดกุมเหมาะสม
                  จึงดำเนินการปรับปรุงกฎหมายฉบับนี้ขึ้นใหม 2 ครั้ง ดังนี้
                                - พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ (ฉบับที่ 2) เปนกฎหมายที่ประกาศ ณ วันที่
                  21 เมษายน พ.ศ. 2522 เพื่อกำหนดบทลงโทษตามกฎหมายวาดวยปาสงวนแหงชาติใหเหมาะสมกับ

                  สภาวการณขณะนั้นโดยแกไขอัตราโทษใหสูงขึ้น
                                - พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ (ฉบับที่ 2) เปนกฎหมายที่ประกาศ ณ วันที่ 24
                  สิงหาคม พ.ศ. 2528 เพื่อชวยเหลือราษฎรที่มีความจำเปนในการครองชีพสามารถเขาทำกิน
                  ในเขตปาสงวนแหงชาติโดยไมเดือดรอนและมีที่อยูเปนหลักแหลงจึงแกกฎหมายใหทางราชการมีอำนาจ

                  อนุญาตใหบุคคลเขาทำประโยชนหรืออยูอาศัยในเขตปาสงวนแหงชาติไดเปนคราว ๆ ทั้งในระยะสั้นและ
                  ระยะยาว
                              (4) มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2535 เรื่องการจำแนกเขตการใชประโยชน
                  ทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ กำหนดใหพื้นที่ปาสงวนแหงชาติจำแนกเปนเขตตาง ๆ

                  ตามการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไม 3 เขต ดังนี้
                                (4.1) เขตพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษ (Zone C) หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแหงชาติ
                  ที่กำหนดไวเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอมดิน น้ำ พันธุพืชและพันธุสัตวที่มีคุณคาหายากเพื่อการปองกัน

                  ภัยธรรมชาติอันเกิดจากน้ำทวมและการพังทลายของดินตลอดทั้งเพื่อประโยชนในดานการศึกษาการ
                  วิจัยนันทนาการของประชาชนและความมั่นคงของชาติ แบงออกเปน 2 สวนคือ
                                  (4.1.1) พื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี หมายถึง
                  พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่ไดประกาศเปนพื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับ
                  การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติไปแลว พื้นที่ลักษณะนี้ไดแก

                                      - พื้นที่เขตรักษาพันธุสัตวปาที่ไดประกาศโดยพระราชกฤษฎีกาตาม
                  พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535
                                      - พื้นที่อุทยานแหงชาติที่ไดประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา

                  ตามพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ. 2504





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ำหลักแมน้ำแมน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130